Page 18 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 18

นับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็นต้นมา ประเทศไทยไม่มีการบังคับโทษตาม                       ดังนั้น จึงจำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำาการศึกษา ความคิด อารมณ์ ความรู้สึก

          คำาพิพากษาของศาลด้วยการประหารชีวิต ซึ่งหากไม่มีการประหารชีวิตครบ ๑๐ ปี               ของนักโทษประหารเกี่ยวกับการได้รับโทษดังกล่าว ตลอดจนการดำาเนินการต่อนักโทษ
          จะเป็นผลให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่พักการลงโทษประหารชีวิตในทางปฏิบัติ                  ประหารภายหลังได้รับทราบคำาตัดสินลงโทษนั้น รวมถึงความคิด อารมณ์ ความรู้สึก
          อันจะเป็นแนวโน้มที่ดีในการนำาไปสู่การยกเลิกโทษประหารชีวิตโดยสมบูรณ์                  และผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการลงโทษประหารชีวิต เพื่อนำาไปสู่การเสนอแนวทางใน

          อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๖๑ ประเทศไทยได้มีการบังคับโทษด้วย             การยุติโทษประหารชีวิตอย่างมีลำาดับขั้นตอนต่อไป
          วิธีการฉีดสารพิษ ซึ่งเป็นรายแรกนับจากการประหารชีวิตครั้งก่อนหน้าเมื่อวันที่ ๒๔            ดังนั้น จึงจำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำาการศึกษา ความคิด อารมณ์ ความรู้สึก

          สิงหาคม ๒๕๕๒  ทำาให้การยกเลิกโทษประหารชีวิตในทางปฏิบัติจึงต้องเริ่มต้นนับ            ของนักโทษประหารและอดีตนักโทษประหารที่ได้มีโอกาสได้กลับมาใช้ชีวิตในสังคมได้
          หนึ่งใหม่อีกครั้ง                                                                    ตามปกติ เกี่ยวกับการได้รับโทษประหารชีวิตตลอดจนการดำาเนินการต่อนักโทษประหาร
               กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ระบุไว้ใน              ภายหลังได้รับทราบคำาตัดสินลงโทษนั้น เพื่อนำาไปสู่การเสนอแนวทางในการยุติโทษ
          ข้อ ๑๐ ว่า “ระบบราชทัณฑ์ต้องประกอบด้วยการประติบัติต่อนักโทษ โดยมีจุดมุ่งหมาย         ประหารชีวิตต่อไป

          สำาคัญที่จะให้นักโทษกลับตัวและฟื้นฟูทางสังคม”  ซึ่งการประหารชีวิต อาจกล่าวได้ว่า
          ไม่ได้เปิดโอกาสให้นักโทษได้รับการฟื้นฟูเพื่อให้สามารถกลับตัวและกลับเข้ามาอยู่

          ในสังคมได้  อีกทั้งยังเป็นการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ คือ สิทธิในการ                                ๒. วัตถุประสงค์
          มีชีวิตอยู่มาแต่กำาเนิด การยุติโทษประหารชีวิตจึงเป็นแนวทางในการคุ้มครอง                   เพื่อศึกษาความคิด อารมณ์ ความรู้สึกของนักโทษประหารต่อคำาพิพากษา
          สิทธิมนุษยชน กล่าวคือ การเปิดโอกาสให้นักโทษยังได้รับการคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐาน      ตัดสินลงโทษประหารชีวิตที่ได้รับ ตลอดจนการดำาเนินการภายหลังได้รับคำาตัดสิน

          ของมนุษย์ในการมีชีวิตอยู่ อีกทั้งไม่ก่อให้เกิดความทรมานต่อนักโทษจากการประหาร         ลงโทษประหารชีวิต อันจะเป็นข้อมูลสำาหรับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องและผู้มีอำานาจ
          ชีวิตทุกรูปแบบ การหลีกเลี่ยงจากการใช้กระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่อาจมีการ             ในการดำาเนินการนำาไปใช้ประโยชน์ต่อไป
          ตัดสินผิดพลาดโดยการประหารชีวิตผู้บริสุทธิ์ ให้สามารถยังคงต่อสู้

          พิสูจน์ความบริสุทธิ์ต่อไปได้
               นอกจากนี้นักโทษประหารชีวิตหลายราย คือ                                                             ๓. ขอบเขตของการวิจัย
          คนยากจนที่ไม่สามารถจ้างทนายความที่มีความสามารถ

          ต่อสู้คดีให้แก่ตนเองได้ อาศัยแต่ทนายอาสา                                                  การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้กำาหนดขอบเขตของการวิจัยไว้ ดังนี้
          ที่ศาลแต่งตั้งให้เท่านั้น โทษประหารชีวิตไม่ได้มีส่วน                                      ๓.๑  ขอบเขตด้านเนื้อหา
          ในการยับยั้งการกระทำาผิด หากแต่ผู้กระทำาผิดกลัว                                                การศึกษาวิจัยมุ่งเน้นศึกษาเฉพาะความคิด อารมณ์ ความรู้สึก และ

          การได้รับโทษภายหลังจากการกระทำาผิดแล้ว
                                                                                               การดำาเนินการต่อนักโทษประหารภายหลังได้รับคำาพิพากษาตัดสินลงโทษประหารชีวิต
                                                                                               และผู้เสียหายจากการกระทำาผิดที่ผู้กระทำาผิดได้รับโทษประหารชีวิต



          16                                     รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต       รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต                     17
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23