Page 32 - คู่มือสิทธิมนุษยชนศึกษาสำหรับประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
P. 32
๔) ก่อนที่จะน�ำตัวผู้ถูกควบคุมไปควบคุมเพื่อซักถำม เจ้ำหน้ำที่
ผู้ควบคุมจะต้องน�ำตัวผู้ถูกควบคุมไปตรวจร่ำงกำยและตรวจโรคประจ�ำตัว เพื่อป้องกัน
มิให้เกิดประเด็นปัญหำกำรซ้อมทรมำนและกำรเสียชีวิตเนื่องจำกไม่ได้รับกำรรักษำ
พยำบำลในระหว่ำงถูกควบคุมตัว
๕) ในระหว่ำงกำรควบคุมตัวเพื่อซักถำมห้ำมเจ้ำหน้ำที่
ท�ำร้ำยร่ำงกำย ซ้อมทรมำน กล่ำวดูหมิ่น หมิ่นประมำท กล่ำวค�ำอำฆำต หรือกระท�ำ
กำรใดๆ อันลบหลู่เกียรติของผู้ถูกควบคุมตัว หรือกระท�ำกำรใดๆ ที่เป็นกำรลดทอน
ศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์ และห้ำมท�ำกำรซักถำมในช่วงเวลำ ๒๒.๐๐ นำฬิกำ ถึง
๐๖.๐๐ นำฬิกำ ของวันรุ่งขึ้น และห้ำมซักถำมบุคคลในสภำวะแวดล้อมที่เป็นกำร
บีบบังคับให้จ�ำต้องยอมรับสำรภำพ เช่น ห้องที่มีอุณหภูมิต�่ำ
๖) เมื่อครบก�ำหนดระยะเวลำในกำรควบคุมตัวตำมกฎ
อัยกำรศึก หรือหมดควำมจ�ำเป็นในกำรควบคุมตัวแล้ว ให้เจ้ำหน้ำที่รีบปล่อยตัวผู้ถูก
ควบคุมโดยเร็ว ก่อนกำรปล่อยตัว ให้น�ำผู้ถูกควบคุมตัวไปท�ำกำรตรวจร่ำงกำย
โดยแพทย์และขอใบรับรองแพทย์เป็นหลักฐำนอีกครั้งหนึ่ง มอบให้แก่ผู้ถูกเชิญตัวไว้
เป็นหลักฐำนด้วยชุดหนึ่ง พร้อมจัดท�ำหนังสือปล่อยตัวเพื่อให้กับญำติที่มำรับตัว
ลงนำมรับรองในฐำนะพยำน
๗) หำกจ�ำเป็นต้องควบคุมตัวเพื่อด�ำเนินกำรซักถำมต่อ
ต้องขออนุญำตจำกศำลในเขตพื้นที่ออกหมำยตำมพระรำชก�ำหนดกำรบริหำรรำชกำร
ในสถำนกำรณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยควำมเห็นร่วมของคณะกรรมกำร ๓ ฝ่ำย
(นำยอ�ำเภอพื้นที่ ผู้ก�ำกับสถำนีต�ำรวจภูธรพื้นที่ และผู้บังคับหน่วยเฉพำะกิจประจ�ำ
พื้นที่)
คู่มือสิทธิมนุษยชนศึกษาส�าหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ๓๑
18-9-62.indd 31 18/9/2562 21:58:35