Page 36 - คู่มือสิทธิมนุษยชนศึกษาสำหรับประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
P. 36

๔)  กรณีไม่มีควำมจ�ำเป็นต้องควบคุมตัวต่อไปให้ปล่อยตัว
                 ไปทันที และรำยงำนให้ศำลทรำบโดยพลัน พร้อมกับจัดท�ำหนังสือรับรองสถำนภำพ

                 ให้แก่ผู้ถูกปล่อยตัวโดยกำรด�ำเนินกำรของสถำนที่ควบคุม

                                   ๕)   ในระหว่ำงกำรควบคุมตัวผู้ต้องสงสัย หำกมีเหตุที่ต้อง
                 ด�ำเนินคดีอำญำ ให้พนักงำนสอบสวนแจ้งข้อกล่ำวหำและน�ำตัวผู้ต้องสงสัยมำศำล

                 เพื่อขอออกหมำยขังตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ มำตรำ ๑๓๔
                                   ๖)  ก่อนปล่อยตัวผู้ถูกควบคุมตัวกลับภูมิล�ำเนำ  เจ้ำหน้ำที่

                 ควบคุมตัวต้องจัดท�ำหนังสือรับรองสถำนภำพและหนังสือปล่อยตัว มอบให้กับผู้ถูก

                 ควบคุมตัวด้วย
                                   ๗)  ในกรณีที่มีกำรควบคุมตัวครบก�ำหนด ๓๐ วัน เจ้ำหน้ำที่

                 ควบคุมตัวจะต้องปล่อยตัวผู้ถูกควบคุมตัว เว้นแต่มีข้อมูลเพิ่มเติมซึ่งเป็นข้อมูลใหม่
                 และพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ประสงค์จะจับและควบคุมซ�้ำอีก  ต้องเริ่มขอหมำยจับใหม่

                 โดยจะต้องแถลงต่อศำลว่ำมีควำมจ�ำเป็นต้องใช้มำตรกำรนี้กับผู้นั้นอีก กำรจะอนุญำต

                 ให้จับกุมและควบคุมตัวอยู่ในดุลพินิจของศำล
                            ๓.๒.๒  การปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการจับกุมและควบคุม

                 ตัวบุคคลที่ต้องสงสัย

                                   ๑)  เมื่อจับตัวบุคคลตำมหมำยจับได้แล้ว ให้รีบน�ำตัวผู้นั้น
                 ส่งสถำนที่ควบคุมตัวที่ระบุไว้ตำมหมำยจับทันที  จะปฏิบัติต่อบุคคลที่ต้องสงสัย

                 ในลักษณะเป็นผู้กระท�ำควำมผิดไม่ได้ เช่น กำรใส่กุญแจมือ กำรล่ำมโซ่ตรวน กำรขัง

                 ในกรงขังที่ท�ำไว้ในอำคำรสถำนที่หรือยำนพำหนะที่จัดเป็นกรงขัง  ต้องไม่ควบคุมตัวไว้





                                                   คู่มือสิทธิมนุษยชนศึกษาส�าหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ๓๕



               18-9-62.indd   35                                              18/9/2562   21:58:35
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41