Page 37 - คู่มือสิทธิมนุษยชนศึกษาสำหรับประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
P. 37
ณ สถำนีต�ำรวจ ที่คุมขังของทัณฑสถำน หรือเรือนจ�ำ หรือกระท�ำกำรอื่นใดที่รุนแรง
ต่อผู้ถูกจับไม่ได้
๒) ต้องแจ้งให้บุคคลผู้ต้องสงสัยที่ถูกจับและควบคุมตัว
และญำติทรำบโดยทันทีว่ำเป็นกำรจับกุมและควบคุมตัวในฐำนะบุคคลที่ต้องสงสัย
ไม่ใช่ผู้ต้องหำ จะไม่ถูกควบคุมตัวไว้ในสถำนที่ต้องห้ำม และปฏิบัติในลักษณะเป็น
ผู้กระท�ำควำมผิด มีก�ำหนดเวลำเท่ำที่จ�ำเป็นแต่ไม่เกินระยะเวลำที่ศำลอนุญำต
๓) กรณีจับกุมบุคคลตำมหมำยจับได้พร้อมเอกสำรหรือ
วัตถุใดที่ต้องสงสัย ว่ำได้ใช้หรือจะใช้ หรือมีไว้ เพื่อกระท�ำหรือสนับสนุนกำร
กระท�ำให้เกิดเหตุกำรณ์ฉุกเฉิน ให้น�ำเอกสำรหรือวัตถุนั้นส่งพนักงำนเจ้ำหน้ำที่
ผู้ร้องขอจับกุมและควบคุมตัว เพื่อด�ำเนินกำรต่อไป
๔) ในกำรจัดท�ำรำยงำนเกี่ยวกับกำรจับกุมและควบคุมตัว
ต้องแจ้งกำรจับและควบคุมตัวบุคคลดังกล่ำว ไปยังศูนย์ปฏิบัติกำรควบคุมกำรสืบสวน
คดีส�ำคัญ (Command and Control Operation Center : CCOC) กองก�ำลัง
ต�ำรวจจังหวัดชำยแดนภำคใต้ หมำยเลขโทรศัพท์ ๐๗๓ - ๒๒๐๒๖๙, ๐๗๓ – ๒๒๐๒๗๒
ในโอกำสแรกที่จะท�ำได้ ทั้งนี้ เพื่อเป็นกำรป้องกันกำรจับและควบคุมตัวผู้ต้องสงสัย
โดยใช้หมำยจับและควบคุมตัวซ�้ำ
๓.๒.๓ การควบคุมตัวบุคคลต้องสงสัยที่เป็นเด็กและสตรี
ให้แยกกำรควบคุมตัวเด็ก (บุคคลที่มีอำยุต�่ำกว่ำ ๑๘ ปี) ออก
จำกสตรีและผู้ใหญ่ และแยกกำรควบคุมตัวชำยหญิงออกจำกกัน ในกรณีที่บุคคล
ต้องสงสัยเป็นเด็ก ให้ปฏิบัติดังนี้
๓๖ คู่มือสิทธิมนุษยชนศึกษาส�าหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
18-9-62.indd 36 18/9/2562 21:58:35