Page 55 - รายงานการติดตามการลงทุนโดยตรงของไทยในต่างประเทศ : ผลกระทบต่อชุมชน สิ่งแวดล้อม และการละเมิดสิทธิมนุษยชน
P. 55
กรณีศึกษาโครงการลงทุนโดยตรงของไทยในลาว
63
ส่วนโรงไฟฟ้าพลังความร้อนถ่านหิน เป็นโรงไฟฟ้าลิกไนต์แห่งแรกที่
ใหญ่ที่สุดในลาว พร้อมเครื่องก�าเนิดไฟฟ้าขนาด 626 เมกะวัตต์ จ�านวน 3 เครื่องผู้
ถือหุ้นประกอบด้วย บริษัทลาวโฮลดิ้งสเตทเอนเตอร์ไพรส์ (LHSE) ถือหุ้น 20%,
บริษัทบ้านปูเพาเวอร์ จ�ากัด (BPP) และบริษัทผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง (RATCH)
ถือหุ้น 40% ซึ่งโครงการได้ว่าจ้างบริษัททีมกรุ๊ปเป็นผู้ออกแบบระบบน�้าดิบส�าหรับ
โรงไฟฟ้าหงสา และเป็นที่ปรึกษาด้านการวางแผนจัดการสิ่งแวดล้อมและการอพยพ
โยกย้ายถิ่นฐาน ตั้งแต่ปี 2550
รายละเอียดส่วนระบบโครงข่ายไฟฟ้า เป็นระบบโครงข่ายไฟฟ้า 500
64
กิโลโวลต์ ชายแดน (บริเวณจังหวัดน่าน) – น่าน 2 และระบบโครงข่ายไฟฟ้า 500
กิโลโวลต์ น่าน 2 – แม่เมาะ 3 ระยะทางประมาณ 237.5 กิโลเมตร ผ่านท้องที่ 3 จังหวัด
คือ จังหวัดน่าน จังหวัดแพร่ และจังหวัดล�าปาง โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตได้ว่าจ้าง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นผู้ท�าการศึกษาและท�ารายงานการวิเคราะห์ผล
กระทบทางสิ่งแวดล้อม (EIA) ในส่วนที่พาดผ่านพื้นที่ป่าคุณภาพลุ่มน�้า 1 บี
บริษัทหงสา
37.5% 25% เหมือง
RATCH LHSE ถ่านหิน
บริษัทผลิตไฟฟ้า 37.5% รัฐวิสาหกิจ ลิกไนต์
ราชบุรีโฮลดิ้ง การไฟฟ้าลาว
BPP
บ้านปูเพาเวอร์ จ�ากัด
40%
RATCH บริษัท หงสา เพาเวอร์
20% โรงไฟฟ้า
พลังความ
บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล 40% LHSE ร้อนถ่านหิน
บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล
(สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด
(สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด BPP
บ้านปูเพาเวอร์ จ�ากัด
63 เว็บไซต์การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. https://www.egat.co.th/index.php?option=com_con-
tent&view=article&id=546:egatnews-20140401-01&catid=30&Itemid=112
64 รายงานที่ 1100/2558 เรื่อง สิทธิชุมชน กรณีโครงการก่อสร้างสายส่งไฟฟ้าแรงสูง ในพื้นที่จังหวัดน่านเพื่อรับซื้อ
ไฟฟ้าจากโครงการเหมืองและโรงไฟฟ้าพลังความร้อนหงสาลิกไนต์สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
51