Page 114 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
P. 114

บทที่ ๒ ผลการด�าเนินงานประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐




                        ๒.๓  ประเภทสื่อมวลชน จ�านวน ๓ ราย ได้แก่
                             ๒.๓.๑ นางสาวมณนิตา (ณัฏฐา) โกมลวาทิน บรรณาธิการ/ผู้ด�าเนินรายการ “ที่นี่ Thai PBS”
                             ๒.๓.๒ นายปกรณ์  พึ่งเนตร
                             ๒.๓.๓ รายการคนเคาะข่าว สถานีโทรทัศน์นิวส์วัน (NEWS1)

                        ๒.๔  ประเภทองค์กรภาครัฐ
                             - ไม่มีองค์กรใดผ่านการคัดเลือก
                        ๒.๕  ประเภทองค์กรภาคเอกชน จ�านวน ๓ ราย ได้แก่                                               บทที่ ๒
                             ๒.๕.๑ คณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย

                             ๒.๕.๒ เครือข่ายสิทธิคนจนพัฒนาภูเก็ต (กรณีที่ดินชาวเลราไวย์)
                             ๒.๕.๓ มูลนิธิเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
                     การมอบรางวัลให้แก่บุคคลและองค์กรที่มีผลงานดีเด่นด้านการส่งเสริม ปกป้อง และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
            ก่อให้เกิดขวัญและก�าลังใจแก่บุคคลและองค์กรในการที่จะมุ่งมั่นปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้นในฐานะเป็นบุคคลและองค์กรที่ได้รับ

            การยกย่องให้เป็นผู้ที่อุทิศตนและมีบทบาทส�าคัญในการปฏิบัติงานด้านการส่งเสริม ปกป้อง และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
            อีกทั้งการเผยแพร่ประวัติและผลงานของบุคคลและองค์กรที่ได้รับรางวัลดังกล่าว ท�าให้สังคมยอมรับและประชาชนได้เห็นความ
            ส�าคัญของการส่งเสริม ปกป้อง และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และเห็นตัวอย่างการท�างานของผู้ได้รับรางวัลที่จะเป็นแรงบันดาล
            ใจให้เกิดการร่วมมือกันท�าให้การละเมิดสิทธิมนุษยชนลดลง ก่อให้เกิดผลดีทั้งต่อบุคคลและประโยชน์สุขโดยรวมของประเทศ



                     ๒.๑.๖  การจัดแข่งขันโต้วาทีสิทธิมนุษยชนภาษาอังกฤษระดับอุดมศึกษา


                            คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติร่วมกับ

            กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ และผู้แทนไทยในคณะ
            กรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ด�าเนิน
            การจัดแข่งขันโต้วาทีสิทธิมนุษยชนภาษาอังกฤษระดับอุดมศึกษา
            เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และปลูกฝังให้มีความ

            ตระหนักและรู้คุณค่าของการเคารพสิทธิมนุษยชน กระตุ้นให้เกิด
            ความสนใจเรียนรู้เรื่องสิทธิมนุษยชนในสถาบันการศึกษา ตลอด
            จนพัฒนาศักยภาพเยาวชนให้มีทักษะด้านการฟัง การคิด การ
            พูด การใช้ภาษาและการน�าเสนอโดยผ่านการเรียนรู้จากการแข่งขันโต้วาที นอกจากนี้ยังเป็นการคัดเลือกผู้แทนเยาวชน

            ไทย จ�านวน ๓ คน เข้าร่วมการแข่งขันโต้วาทีสิทธิมนุษยชนระดับเยาวชนในประชาคมอาเซียน ประจ�าปี ๒๕๖๐ ระหว่าง
            วันที่ ๓ - ๖ กันยายน ๒๕๖๐ ทั้งนี้ การด�าเนินการประกอบด้วย
                            (๑) การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การส่งเสริมความรู้สิทธิมนุษยชนส�าหรับนิสิต นักศึกษาเพื่อสร้าง
            ความรู้ความเข้าใจและลงพื้นที่ท�ากิจกรรมด้านสิทธิมนุษยชน

                            (๒) การแข่งขันโต้วาทีในประเด็นสิทธิมนุษยชน


                     ผลส�าเร็จ/ความก้าวหน้าในการส่งเสริมสิทธิมนุษยชน



                     การโต้สาระวาทีเป็นเทคนิคหนึ่งที่สามารถน�ามาใช้เพื่อปลูกฝังแนวคิดและหลักการสิทธิมนุษยชน สร้าง
            กระบวนการเรียนรู้ การคิดวิเคราะห์ และจัดการปัญหาต่าง ๆ ให้แก่เยาวชนได้เป็นอย่างดี เนื่องจากเป็นการโต้สาระวาที
            ในเรื่องเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่มีแก่นสาระส�าคัญและมีประโยชน์ บนพื้นฐานของข้อมูลที่เป็นจริง มีกลุ่มเป้าหมาย
            ประกอบด้วยเยาวชน นิสิต นักศึกษาซึ่งก�าลังศึกษาในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาจากทุกภูมิภาคทั่วประเทศ

                                                                               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  | 113
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119