Page 316 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 316

แนวทางกิจกรรม / ตัวชี้วัดความส าเร็จของแผนกลยุทธ์ แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของ กสม. พ.ศ.2560-2562
                                                                                                                      การมุ่งเน้นเป้าหมายความส าคัญ
                                    แผนกลยุทธ์ ฯ                               แนวทางกิจกรรม
                                                                                                                 ปีที่ 1        ปีที่ 2       ปีที่ 3
                     กลยุทธ์ที่ 1: การให้ค าปรึกษาในการจัดท าแผน NAP   -   มีกิจกรรมในการรวบรวมข้อมูลเพื่อสนับสนุนในการให้     .
                                                                 ค าปรึกษา
                                                              -   เข้าร่วมประชุมเพื่อให้ข้อมูลในการจัดท าแผน NAP
                     กลยุทธ์ที่ 4: การสนับสนุนเชิงเทคนิคและการ  -   จัดท า MOU  ที่ช่วยให้เกิดการเข้าถึงข้อมูลจากหน่วยงาน
                     แลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานภาครัฐ (เช่น การให้  ภาครัฐ
                     ความรู้ในกระบวนการเยียวยาของศาลและภาครัฐ  -   จัดกลุ่มหน่วยงานภาครัฐเพื่อแยกรูปแบบการสนับสนุนการ
                     อื่นๆที่เกี่ยวข้อง การผลักดันแก้ไขปัญหาข้ามพรมแดน   ด าเนินการแลกเปลี่ยนข้อมูล
                     และการผลักดันเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาเพิ่มเติม)    -   สนับสนุนเชิงเทคนิค และแลกเปลี่ยนข้อมูลโดยวิธีต่างๆ
                                                                 เช่น การจัดประชุม (Forum), การออกเอกสารเผยแพร่
                  แผนปลูกฝัง   กลยุทธ์ที่ 5: การสนับสนุนการเชื่อมโยงแผนต่างๆ   -   ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่รับผิดชอบหลักในการ

                                                                 ท าแผน เช่น สภาพัฒน์ กระทรวงต่างประเทศ สภาปฏิรูป
                     ของประเทศให้มีประเด็นสิทธิมนุษยชนให้เด่นชัดมาก
                                                                 แห่งชาติ และคณะกรรมการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติ เพื่อ
                     ขึ้น
                                                                 สร้างความตระหนักรู้ให้เห็นถึงความส าคัญของประเด็น
                                                                 ดังกล่าว
                     กลยุทธ์ที่ 7: การสนับสนุนการสร้างความตระหนักรู้  -   พัฒนาองค์ความรู้ และ/หรือ จัดท ากรณีศึกษาที่เกี่ยวข้อง
                     ด้านสิทธิมนุษยชนกับการประกอบธุรกิจ (CSR เป็นจุด  เพื่อสนับสนุนการสร้างความตระหนักรู้ โดยไม่เฉพาะแค่
                     เริ่มที่ดีแต่ยังไม่เพียงพอ) รวมไปถึงความส าคัญของ  เพียงกับภาคธุรกิจและรัฐวิสาหกิจ แต่รวมไปถึงหน่วยงาน
                     การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานการผลิตที่เคารพสิทธิ  ที่เกี่ยวข้องกับการก ากับดูแลด้วย
                     มนุษยชน                                  -   จัดประชุมเพื่อสร้างความตระหนักรู้
                                                              -   เผยแพร่ความรู้เพื่อให้เกิดความตระหนักรู้ในประเด็น
                                                                 ดังกล่าวผ่านสื่อ








                                                                                    5-74
   311   312   313   314   315   316   317   318   319   320   321