Page 315 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 315
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
อันดับที่ กลยุทธ์ คะแนน
1 การพัฒนากลไกการบริหารที่ต้องมีการติดตามและ 4.45
ประเมินผลการปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ฯ ทั้งภายในและ
ภายนอก (กลยุทธ์ที่ 25)
2 การขยายช่องทางให้เข้าถึง กสม. ได้สะดวกมากยิ่งขึ้น (กล 4.38
ยุทธ์ที่ 17)
3 การท าความเข้าใจภายในองค์กรเพื่อให้เข้าใจตรงกันในส่วน 4.33
ของนิยาม ขอบเขตอ านาจของ กสม. เพื่อใช้ก าหนดแนวทาง
ในการด าเนินการที่มีประสิทธิภาพ (กลยุทธ์ที่ 20)
4 การพัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทั้งในและ 4.31
ต่างประเทศ อันได้แก่ ผู้น าชุมชน ภาคประชาสังคม องค์กร
พัฒนาเอกชน สื่อ ภาควิชาการและหน่วยงานต่างประเทศ
(กลยุทธ์ที่ 18)
การส่งเสริมให้ กสม. ท าหน้าที่เป็นคลังข้อมูล (กลยุทธ์ที่ 24) 4.31
6 การสนับสนุนกลไกการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (กลยุทธ์ที่ 16) 4.30
7 การผลักดันแผนกลยุทธ์ขององค์กรให้น าไปใช้เพื่อสนับสนุน 4.28
การด าเนินงานของ กสม. รวมทั้งการปรับปรุงภาพลักษณ์ของ
องค์กรให้ท างานด้านส่งเสริมมากขึ้น (กลยุทธ์ที่ 19)
8 การสร้างความตระหนักรู้ให้กับกลุ่มที่เสี่ยงที่จะถูกละเมิดและ 4.25
ประชาชนทั่วไป (กลยุทธ์ที่ 14)
9 การเฝ้าระวังประเด็นปัญหาเฉพาะเรื่องของภาคเอกชนเป็น 4.24
พิเศษ (กลยุทธ์ที่ 11)
10 การพัฒนาโครงสร้างการบริหารจัดการบุคลากรขององค์กรให้ 4.22
มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น (กลยุทธ์ที่ 23)
ที่มา: ประมวลผลโดยคณะผู้วิจัย
5.4.7 ข้อเสนอแนะเพื่อน าไปปรับใช้
ในส่วนนี้จะเป็นการเสนอแนะ กสม. ให้ด าเนินการตามแผนกลยุทธ์ทั้ง 25 ข้อ โดยจะจัดล าดับ
ความส าคัญโดยอาศัยการพิจารณาจากศักยภาพองค์กร ทรัพยากรขององค์กร การด าเนินการที่เห็นผลได้เร็ว
การท าน้อยแต่ได้ผลมาก หรือการบรรลุผลอย่างยั่งยืน เป็นต้น ทั้งนี้คณะผู้วิจัยได้ก าหนดช่วงของแผนออกเป็น
3 ปี แยกพิจารณาได้ดังนี้
5-73