Page 277 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 277
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
เพิ่มเติม) - ( ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ) ร่ ว ม
กลยุทธ์ที่ 5. การสนับสนุนการ กลยุทธ์ที่ 11. การเฝ้าระวังปัญหาเฉพาะเรื่อง แลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ กลยุทธ์ที่ 23. พัฒนาโครงสร้างการบริหารจัดการบุคลากรของ
เชื่อมโยงแผนต่างๆของประเทศ ของภาคเอกชน (เช่น เกษตรพันธสัญญา การค้า มาตรฐานสากล บทเรียน แนว องค์กรให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ให้มีประเด็นสิทธิมนุษยชนให้ มนุษย์ แย่งชิงฐานทรัพยากร การท าลาย ทางการปฏิบัติที่ดี รวมไปถึง
เด่นชัดมากขึ้น สิ่งแวดล้อม การลงทุนของธุรกิจไทยใน การท าวิจัยและพัฒนาใน
ต่างประเทศที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน) ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
กลยุทธ์ที่ 6. การให้ข้อเสนอเชิง กลยุทธ์ที่ 12. การผลักดันกลไกการไกล่เกลี่ย กลยุทธ์ที่ 24. เป็นคลังข้อมูลที่รวบรวมหลักปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นโยบาย หรือปรับปรุงกฎหมาย นอกศาลในกระบวนการแก้ไขข้อพิพาทเพื่อให้ โดยมีทั้งข้อมูลเชิงนโยบาย กรณีศึกษาของบริษัทต่างๆ การ
กฎระเบียบในการคุ้มครองสิทธิ ผู้เสียหายได้เข้าถึงความเป็นธรรมอย่างรวดเร็ว ด าเนินการตามนโยบาย การสื่อสารกับสาธารณะ การบริหาร
มนุษยชนสิทธิมนุษยชนที่ ไม่แพง และเป็นที่พอใจ แต่มิได้ตัดสิทธิในการที่ ความสัมพันธ์ภายในห่วงโซ่อุปทานการผลิต การจ าแนกและ
เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจ (เช่น การ จะไปฟ้องร้องในกระบวนการยุติธรรม ประเมินความเสี่ยงด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน การจัดท า
ให้มีกฎหมาย Anti SLAPP การ auditing system และการออกรายงานประจ าปี นอกจากนี้
ให้มีการคุ้มครองผู้พิทักษ์สิทธิ กสม. ควรที่จะส่งเสริมให้ภาคเอกชนจัดท า KPI ของตนเองขึ้น
มนุ ษ ย ช นห รื อ ผู้ ให้ ข้ อ มู ล กลยุทธ์ที่ 13. การร่วมมือกับองค์กร หรือ กลยุทธ์ที่ 25. การพัฒนากลไกการบริหารที่ต้องมีการติดตาม
(whistle blower) และการ สถาบันตรวจสอบที่ได้รับการยอมรับในสังคม การประสานงานกับผู้ร้องเรียนถึงสถานะการด าเนินการการ
สนับสนุนให้ท า RIA) เพื่อสนับสนุนกลไกเกี่ยวกับปัญหาการประกอบ ตรวจสอบเรื่องร้องเรียนอย่างเหมาะสม และการประเมินผลการ
ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน รวมถึงการให้แรงจูงใจ ปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ฯ ทั้งจากภายในและภายนอกเพื่อที่จะ
ที่เหมาะสม เป็นประโยชน์ในการขับเคลื่อนแผนที่เป็นรูปธรรมต่อไป (เช่น
การจัดท ารายงานประจ าปีที่มีการสรุปการด าเนินงานใน
ประเด็นของธุรกิจและสิทธิมนุษยชนอย่างชัดเจน)
ที่มา: ประมวลผลโดยคณะผู้วิจัย
5-47