Page 228 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 228
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
3. การสนับสนุนกลไกการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (เช่น การให้ค าปรึกษากับผู้ร้องทุกข์เพื่อให้เข้าถึง
กระบวนการยุติธรรม กลไกการเยียวยา รวมทั้งการปรับปรุงกลไกการปกป้องผู้พิทักษ์สิทธิ
มนุษยชน)
4. การผลักดันกลไกการไกล่เกลี่ยนอกศาลในกระบวนการแก้ไขข้อพิพาทเพื่อให้ผู้เสียหายได้เข้าถึง
ความเป็นธรรมอย่างรวดเร็ว ไม่แพง และเป็นที่พอใจ แต่มิได้ตัดสิทธิในการที่จะไปฟ้องร้องใน
กระบวนการยุติธรรม
5. การขยายช่องทางการติดต่อเพื่อให้เกิดการเข้าถึง กสม. ได้สะดวกมากขึ้น
แผนภาพที่ 5.3 ช่องว่างบทบาทของ กสม. ที่ควรจะเป็นกับภาคประชาชนทั่วไป
ที่มา: ประมวลผลโดยคณะผู้วิจัย
5.1.4 กสม. กับภาคภาคีแนวร่วมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
กสม. ยังมีช่องว่างของบทบาทในการด าเนินการกับสื่อ เพราะไม่ปรากฏชัดเจนว่า กสม. ได้ด าเนินการ
อะไรร่วมกับสื่อบ้าง ส าหรับภาคอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง คณะผู้วิจัยพบว่า กสม. แม้ว่าจะได้ด าเนินการไปบ้าง ไม่ว่าจะ
เป็น 1) การสร้างกลไกการมีส่วนร่วมรับฟังความคิดเห็น ผ่านคณะอนุกรรมการที่มีความหลากหลายรวมไปถึง
เครือข่ายที่ขึ้นทะเบียนกับ กสม. 2) บทบาทโดยตรงกับสื่อยังไม่ชัดเจนมากนัก 3) การว่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อ
จัดท าองค์ความรู้เพื่อสนับสนุนการสนับสนุนส่งเสริมให้ความรู้ เช่น การจัดท าคู่มือ HRDD มาตรฐานสิทธิ
มนุษยชนระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจตลอดจนประสบการณ์ และบทบาทของ กสม. ใน
ต่างประเทศ 4) การสร้างเครือข่ายกับมหาวิทยาลัย 5) การสนับสนุนภาพรวมกรอบความร่วมมือระหว่าง
ประเทศ การสร้างความร่วมมือกับสถาบันสิทธิมนุษยชนเดนมาร์ก German Institute for Human Rights
5-6