Page 11 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 11

บทที่ 1 บทน ำ






               1       หลักกำรและเหตุผล



                       จากสภาพของเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน พบว่า การด าเนินการของ

               ภาคธุรกิจส่งผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชนสูงขึ้น มีความซับซ้อนมากขึ้น เนื่องจากการด าเนินธุรกิจอาจจะสร้าง
               ผลกระทบต่อชุมชนที่ธุรกิจนั้นเข้าไปด าเนินการไม่ว่าจะเปนนผลกระทบทางเศรษฐกิจ ทางสังคมรรือแม้กระทั่งทาง

               สิ่งแวดล้อม พฤติกรรมดังกล่าวเกิดขึ้นจากการด าเนินการโดยปราศจากการปรึกษารารือ รรือได้รับความยินยอมจาก

               ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชนโดยรอบ ส่งผลใร้เกิดความขัดแย้ง ความรุนแรงและขยายวงกว้างได้รากการด าเนิน
               ธุรกิจโดยปราศจากการเคารพสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ ตัวอย่างจากต่างประเทศก็ล้วนเปนนตัวอย่างที่สะท้อนใร้เร็นถึง

                                                                                          2
                                                               1
               ปัญรานี้ได้เปนนอย่างดี อาทิ กรณี Bhopal ในประเทศอินเดีย  กรณี Shell ในประเทศไนจีเรีย  กรณี Yahoo ใน
                         3
               ประเทศจีน  รรือในกรณีของประเทศไทยเอง เช่น กรณีข่าวการค้ามนุษย์ในอุตสารกรรมประมง กรณีข่าวการใช้
               แรงงานในอุตสารกรรมสัตว์ปีก และกรณีข่าวผลกระทบจากการประกอบกิจการเรมืองแร่ เปนนต้น


                       กรณีต่างๆ ที่เกิดขึ้นรอบโลก ท าใร้เกิดเรตุการณ์ส าคัญของการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของภาคธุรกิจ
               ในระดับระรว่างประเทศ โดยองค์การสรประชาชาติได้ใร้ความเร็นชอบกับรลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจและ

               สิทธิมนุษยชนแร่งสรประชาชาติ (United  Nations  Guiding  Principles  on  Business  and  Human

               Rights:  UNGP) ซึ่งสาระส าคัญของรลักปฏิบัตินี้เพื่อเปนนแนวทางส ารรับใร้รัฐมีรน้าที่คุ้มครองสิทธิมนุษยชน
               และภาคธุรกิจควรที่จะเคารพสิทธิมนุษยชน และราแนวทางเยียวยาผู้ที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนรากว่ามีการ

               ละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้น


                       อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันบริษัทต่างๆ เริ่มใร้ความส าคัญกับการท าธุรกิจโดยมีความรับผิดชอบต่อ
               สังคมและการท าธุรกิจที่ยั่งยืน สิทธิมนุษยชนจึงกลายเปนนปัจจัยส าคัญในการลงทุนและการพัฒนาอย่างยั่งยืน

               อย่างไรก็ตามก็ยังคงมีช่องว่างระรว่างนโยบายกับภาคปฏิบัติที่แท้จริง ดังจะเร็นได้จากการที่ยังไม่มีการ

               ประกาศใช้แผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชนในทวีปเอเชีย กอรปกับความสนใจในเรื่อง



               1    Business & Human Rights Resource Centre. (2016). “Union Carbide/Dow lawsuit (re Bhopal).”

                   [ระบบออนไลน์]. แรล่งที่มา https://business-humanrights.org/en/union-carbidedow-lawsuit-re-bhopal
                   (12 ตุลาคม 2559).
               2
                   Business & Human Rights Resource Centre. (2016). “Shell lawsuit (re Nigeria - Kiobel & Wiwa).”
                   [ระบบออนไลน์]. แรล่งที่มา https://business-humanrights.org/en/shell-lawsuit-re-nigeria-kiobel-wiwa
                   (12 ตุลาคม 2559).
               3
                   Business & Human Rights Resource Centre. (2016). “Yahoo! lawsuit (re China).” [ระบบออนไลน์].
                   แรล่งที่มา https://business-humanrights.org/en/yahoo-lawsuit-re-china-0#c9340  (12 ตุลาคม 2559).



                                                           1-1
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16