Page 16 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 16

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแร่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


               พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแร่งชาติ (สศช.) Global  Compact  Network  Thailand  (GCNT)  สมาคม

               ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)  ส านักงานคณะกรรมการก ากับรลักทรัพย์และตลาดรลักทรัพย์
               (ก.ล.ต.) รน่วยงานวิชาการ บริษัท ป่าสาละ จ ากัด สถาบันไทยพัฒน์ มูลนิธิศูนย์ข้อมูลชุมชน เปนนต้น เพื่อใร้

               เร็นภาพรวมของการตอบสนองต่อความต้องการของสังคมในปัจจุบัน โดยค านึงถึงสถานการณ์ด้านธุรกิจและ

               สิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นทั้งในประเทศและต่างประเทศที่มีผลกระทบต่อประเทศไทยที่อาจเกิดขึ้นในช่วงปี พ.ศ.
               2560 – 2562


                       ในส่วนนี้ จะมีเป้าประสงค์ที่ส าคัญ 3 ประการ คือ


                       1.   การประมวลความต้องการด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนที่สังคมควรได้รับ ซึ่งจะอาศัยการทบทวน

                          วรรณกรรมจากต่างประเทศ ร่วมกับงานวิจัยในไทยที่เกี่ยวข้อง

                       2.   การประมวลบทบาทที่ได้รับการตอบสนองแล้ว ซึ่งจะเปนนการประเมินว่าความต้องการด้านธุรกิจ

                          และสิทธิมนุษยชนที่สังคมควรจะได้รับในเป้าประสงค์แรกนั้น ได้มีองค์กรที่ท ารน้าที่ตอบสนอง

                          แล้วมากน้อยเพียงใด โดยจะแบ่งเกณฑ์ออกเปนน ได้รับการตอบสนองแล้วอย่างสมบูรณ์ ได้รับการ
                          ตอบสนองแล้วบางส่วน และยังไม่ได้รับการตอบสนอง ซึ่งในสองกรณีรลังจะเปนนช่องว่างที่ กสม.

                          สามารถเข้าไปร่วมด าเนินงาน รรือเข้าไปมีบทบาทรลักในการตอบสนองได้


                       3.   การประมวลความต้องการเพิ่มเติม รรือ ที่ควรมุ่งเน้น โดยอาศัยการวิเคราะร์สถานการณ์ที่คาด
                          ว่าจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย ซึ่งในส่วนนี้จะจ าแนกผลกระทบออกเปนน 3 มิติ ได้แก่

                          ผลกระทบต่อความมั่นคง ผลกระทบต่อความมั่งคั่ง และผลกระทบต่อความยั่งยืน ซึ่งสอดคล้อง

                          กับวิสัยทัศน์ของประเทศไทยของรัฐบาลในช่วงปี พ.ศ. 2558-2563 และท าการประเมินความ
                          ต้องการเช่นเดียวกันกับใน 2 เป้าประสงค์ข้างต้น


                       ในขั้นตอนที่สาม จะเปนนการวิเคราะร์ช่องว่าง โดยอ้างอิงจากผลการศึกษาในขั้นตอนที่รนึ่งและ

               ขั้นตอนที่สอง เพื่อวิเคราะร์ราบทบาทของ กสม. ที่ควรจะเปนน โดยในขั้นตอนนี้ จะอาศัยการวิเคราะร์จาก
               คณะผู้วิจัยเปนนจุดตั้งต้น แล้วท าการพัฒนาข้อเสนอแนะใร้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ผ่านการจัดประชุมระดม

               ความคิดเร็น และ/รรือ การสัมภาษณ์รน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง รวม 4 ครั้ง ประกอบไปด้วย


                       1.   การระดมความคิดเร็นจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแร่งชาติ (กสม.)

                       2.   การระดมความคิดเร็นจากตัวแทนรน่วยงานภาครัฐ
                       3.   การระดมความคิดเร็นจากตัวแทนองค์กรด้านธุรกิจ เศรษฐกิจและการลงทุน ตลอดจน

                          รัฐวิสารกิจ

                       4.   การระดมความคิดเร็นจากภาคประชาสังคม







                                                           1-6
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21