Page 14 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 14
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแร่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
2.2 เพื่อจัดท าแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแร่งชาติ
พ.ศ. 2560-2562 ที่มีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แร่งชาติ พ.ศ. 2560–2565 พร้อมแนวทาง และ/รรือข้อเสนอแนะในการแปลงแผน
กลยุทธ์สู่การปฏิบัติ
3 ระเบียบวิธีวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative) โดยวิธีการทบทวนวรรณกรรม การ
วิเคราะร์และสังเคราะร์ความรู้จากเอกสาร องค์ความรู้ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานด้านธุรกิจและ
สิทธิมนุษยชน และการรับฟังความคิดเร็นจากผู้มีส่วนได้เสีย (stakeholders) ที่เกี่ยวข้อง เพื่อราค าตอบใน
ประเด็นที่มุ่งเน้นในขอบเขตของงานวิจัย และเพื่อจัดท าแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแร่งชาติ พ.ศ. 2560-2562 ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
ในภาพรวม การวิเคราะร์จะอาศัยวิธีการที่เรียกว่า “การวิเคราะร์ช่องว่าง” รรือ gap analysis
(แผนภาพที่ 1) โดยวิธีการดังกล่าวจะท าการวิเคราะร์ผลการด าเนินงานของ กสม. ในช่วงที่ผ่านมา และการ
ด าเนินการที่กระท าอยู่ในปัจจุบัน เทียบกับ การด าเนินงานที่ควรจะเปนน (desired) เพื่อตอบสนองต่อความ
ต้องการของสังคมทางด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน ซึ่งช่องว่างดังกล่าวจะเปนนตัวก ารนดบทบาทของ กสม. ที่
เรมาะสมในรูปของแผนกลยุทธ์ต่อไป
เพื่อที่จะวิเคราะร์ช่องว่างข้างต้น ขั้นตอนด าเนินการที่ส าคัญขั้นตอนแรก จะเปนนการวิเคราะร์ผลการ
ด าเนินงานของ กสม. ในช่วงที่ผ่านมา ซึ่งคณะผู้วิจัยจะอาศัยการทบทวนเอกสารการด าเนินงานของ กสม. ที่
เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน ซึ่งจะแบ่งออกได้เปนน 2 กลุ่มรลัก ได้แก่ ผลการ
ด าเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแร่งชาติ และผลงานศึกษาวิจัยของ กสม. ที่เกี่ยวข้อง (โปรดดู
ขอบเขตของการทบทวนเอกสารได้ในรัวข้อที่ 4)
1-4