Page 57 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
P. 57

รวมถึงความร่วมมือระหว่างครอบครัวและรัฐเรื่อง

                                                          เพศศึกษาของเยาวชน และการให้บริการด้านสุขภาพ

                                                          โดยปราศจากอคติ ตามสิทธิขั้นพื้นฐานและหน้าที่

                                                          ของบิดามารดาในการให้การศึกษาแก่บุตรของตน

                                                          แต่ในข้อที่ (๗) ระบุเรื่องการป้องกันการท�าแท้งและ

                                                          การจัดการภาวะแทรกซ้อนที่เกี่ยวกับการตั้งครรภ์

                                                          ซึ่งจะเห็นได้ว่ากฎหมายมีความย้อนแย้งกันเอง

                                                          ในเรื่องสิทธิที่ผู้หญิงและเยาวชนหญิงพึงจะได้รับ

                                                          อย่างเต็มที่ในเนื้อตัวร่างกายของตนเอง


                                                                ๓.   สิทธิในก�รได้รับข้อมูลข่�วส�รและ

                                                          ก�รศึกษ� (Rights to Information and Education)

                                                          ระบุไว้ในข้อก�าหนดที่ ๒๔ สิทธิในการศึกษาและ

                                                          การอบรม และข้อก�าหนดที่ ๒๖ การเข้าถึงข้อมูล

                                                          ข่าวสารเกี่ยวกับนโยบายด้านผู้หญิง



                       จากบทบัญญัติต่างๆ ในกฎหมายที่น�ามาศึกษาพบว่า แม้กฎหมายจะบัญญัติและให้ความ


                 คุ้มครองสิทธิด้านต่างๆ ของเด็ก เยาวชน และผู้หญิง แต่ถูกก�ากับไว้ด้วยความเชื่อทางศาสนา และ
                 บรรทัดฐานทางสังคมและวัฒนธรรม บทบัญญัติในกฎหมายจึงมีความย้อนแย้งกันเอง เช่น สิทธิของ


                 สามีและภรรยาในการสร้างครอบครัวที่ต้องไปตามความเชื่อทางศาสนา ซึ่งหมายถึงไม่สามารถที่จะ
                 เป็นไปด้วยความสมัครใจและเสรีภาพได้ หรือการออกกฎหมายเพื่อคุ้มครองทารกที่ยังไม่ได้ถือก�าเนิด


                 ขึ้นมาก็คือ การไม่อนุญาตให้เยาวชนหญิงเข้าถึงทางเลือกส�าหรับการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม รายงานของ
                 WHO (2005) อ้างถึงการศึกษาปี ๒๐๐๓ ของ The Health Action Information Network (HAIN)


                 พบว่า เยาวชนฟิลิปปินส์ร้อยละ ๕๘.๘ ยอมรับเรื่องการท�าแท้งหากส่งผลต่อชีวิตของแม่ และงาน
                 วิจัยอื่นศึกษาที่ Baguio พบว่า นักศึกษากล่าวว่า การท�าแท้งเป็นสิ่งที่ผิดไม่ว่าจะในสถานการณ์ใด


                 (Cruz and Diaz, 2001) นอกจากนี้ รายงานดังกล่าวยังอ้างถึงข้อค้นพบของ Cabigon (1999) ว่า
                 อัตราการยอมรับของประชากรทั่วไปเรื่องการท�าแท้งต�่ามาก (ร้อยละ ๔) เนื่องจากความเชื่อทาง


                 สังคมที่มองว่าการท�าแท้งเป็นสิ่งต้องห้ามตามความเชื่อของศาสนาและผิดกฎหมาย







                             56    // ปัญหำเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62