Page 139 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
P. 139

วัยรุ่นมันมากกว่าพ่อแม่แล้วอะ คือโอเค พ่อแม่ยอมรับให้ท้องต่อได้ แต่พอออกมาไปใน

                           โรงเรียนหรือว่าอะไรอย่างนี้ บางทีระบบในสังคมมันไม่เอื้อ มันก็มีหลายเงื่อนไขหลายปัจจัย

                           ที่ท�าให้ใครหลายๆ คนตัดสินใจได้ไม่เหมือนกัน เรามองว่าอย่างนี้ คือเรามองว่าท้องไม่ท้อง

                           เป็นการตัดสินใจของผู้หญิง แต่การตัดสินใจของผู้หญิง มันก็มีเงื่อนไขหลายอย่างที่เข้ามา

                           เกี่ยวข้องกับความเป็นไปได้ของการที่จะเลือกที่จะยุติหรือว่าจะเก็บไว้ โดยเฉพาะอย่าง

                           วัยรุ่นมันมีเรื่องเป้าหมายในชีวิต เรื่องของการที่ต้องรับผิดชอบตัวเองได้หรือไม่ได้ ความรู้สึก

                           ที่มีต่อพ่อแม่ ความรู้สึกผิดกับตัวเองที่มีกับพ่อแม่หรือว่าอะไรหลายๆ อย่างมันผนวก

                           เข้ามา แล้วการมองชีวิตตัวเอง มองชีวิตของทารกที่จะต้องเติบโต ถ้าเกิดอยู่ต่อไปอะไร

                           อย่างนี้  แล้วมัน..สิ่งที่เกิดขึ้นกับคนมันไปเชื่อมโยงกับหลายๆ เรื่องในสังคม ถ้าไม่ได้มองว่าเป็น

                           เรื่องพฤติกรรมคนท้องคนนึงกับสิ่งที่จะเกิดมาหนึ่งชีวิตมันมีเรื่องของการพัฒนาคุณภาพ

                           ชีวิต แล้วถ้าเป็นท้องของวัยรุ่น วัยรุ่นก็ก�าลังอยู่ในช่วงที่ตัวเองก�าลังเปลี่ยนฐานจากวัยเด็ก

                           สู่วัยผู้ใหญ่ ซึ่งต้นทุนชีวิตเราก็มองว่ามันก็ต�่า...”


                       จากการสัมภาษณ์สะท้อนให้เห็นถึงปัญหาเยาวชนหญิงตั้งครรภ์ในมิติสิทธิมนุษยชนว่า

                 โครงสร้างและสภาพสังคมที่ก�าหนดให้เยาวชนอยู่ห่างจากความรู้เรื่องเพศ การมีเพศสัมพันธ์ที่

                 ปลอดภัย ท�าให้เยาวชน “พล�ด” และตั้งครรภ์ได้ และสังคมก็ไม่ได้ยอมรับให้เยาวชนที่ “พล�ด”

                 ได้แก้ไขปัญหา แต่ผลักให้เยาวชนกลุ่มนี้อยู่กับปัญหา และผลักให้องค์กรพัฒนาเอกชนรับผิดชอบ

                 แทนซึ่งถือว่าเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ซึ่งเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์มีจ�านวนมากขึ้นเรื่อยๆ

                 ซึ่งองค์กรที่รองรับนั้นนอกจากมีจ�านวนไม่เพียงพอแล้ว เจ้าหน้าที่บางคนยังขาดความรู้เรื่องสิทธิต่างๆ

                 การท�างานและขับเคลื่อนเพื่อสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ในเยาวชนหญิงตั้งครรภ์ของเจ้าหน้าที่จึงเต็มไป

                 ด้วยความยากล�าบาก และในแต่ละองค์กรไม่ได้ท�าหน้าที่รับประเด็นการถูกละเมิดสิทธิของเยาวชน

                 หญิงตั้งครรภ์เท่านั้น แต่ยังต้องรับเยาวชนหรือผู้หญิงประเด็นอื่นๆ ด้วย



                       l   ทัศนคติของผู้ปกครอง



                        ในการลงพื้นที่ภาคสนาม การสัมภาษณ์พ่อแม่ผู้ปกครองสะท้อนให้เห็นว่า ไม่เพียงผู้ปกครอง

                 จะต้องการองค์ความรู้ในเรื่องสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน แต่ “ทักษะก�รสื่อส�รท�งบวก” ใน

                 ครอบครัวยังเป็นสิ่งจ�าเป็นที่ผู้ปกครองหลายคนขาด ซึ่งเป็นทักษะส�าคัญท�าให้เกิดความเข้าใจและ









                            138    // ปัญหำเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144