Page 3 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 3
ค ำน ำ
การสงวนหวงห้ามพื้นที่เพื่อประโยชน์สาธารณะเป็นสิ่งจ าเป็น แต่ในการด าเนินงาน
เพื่อสงวนหวงห้ามพื้นที่เหล่านั้น ต้องค านึงถึงประชาชนผู้ถือครองท าประโยชน์อยู่ด้วยเป็นส าคัญ อีกทั้ง
การเพิ่มขึ้นของประชากรที่ต้องใช้ที่ดินในการเป็นที่อยู่อาศัยและประกอบอาชีพ การก าหนดแนวเขตที่ดิน
ของประเทศไทยให้เป็นพื้นที่สงวนหวงห้ามของรัฐที่ส าคัญ ได้แก่ ที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน โดยมี
หนังสือส าคัญส าหรับที่หลวง หรือการก าหนดพื้นที่อนุรักษ์ เช่น ป่าสงวนแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า หรือเขตอุทยานแห่งชาติ โดยมีการก าหนดกระบวนงานและขั้นตอนการปฏิบัติงาน
อย่างรัดกุมครบถ้วนแล้วก็ตาม แต่ยังมีปัญหากระทบกับสิทธิในที่ดินของประชาชน โดยพบว่า แนวเขต
ที่ก าหนดมีการทับซ้อนระหว่างพื้นที่ของหน่วยงานต่างๆ และพื้นที่ของประชาชน ทั้งยังมีความผิดพลาด
ไม่เป็นไปตามข้อเท็จจริง ท าให้ประชาชนไม่ยอมรับ อีกทั้ง ในการด าเนินงานประชาชนที่มีส่วนได้ส่วนเสีย
กับการก าหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ มิได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการก าหนดแนวเขต ส่งผลกระทบสิทธิในที่ดิน
ที่ถือครองท าประโยชน์อยู่แต่เดิม ท าให้ผิดกฎหมายถูกด าเนินคดี ประชาชนที่ประสบปัญหาได้มี
การร้องเรียนถึงหน่วยงานต่างๆ และคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมากกว่า ๒๐๐ เรื่อง
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ได้ตระหนักถึงความส าคัญในประเด็นปัญหาของ
ประชาชนที่ได้รับผลกระทบเกี่ยวกับสิทธิในที่ดิน จึงได้ก าหนดให้ศึกษาวิจัย เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการก าหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ เพื่อศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการที่ดิน
การก าหนดขอบเขตโดยแผนที่แนบท้ายหรืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องของหน่วยงานหลักที่มีหน้าที่ในการบริหาร
จัดการที่ดิน แนวทางในการแก้ไขปัญหาการทับซ้อนแนวเขตที่ดินของเขตอนุรักษ์กับที่ดินของรัฐประเภทอื่นๆ
ที่รัฐจัดสรรให้กับประชาชน และเสนอแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการก าหนดแนวเขตที่ดิน
ของรัฐ รวมทั้ง แนวทางในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างรัฐกับประชาชนในการก าหนดแนวเขต
ที่ดินของรัฐ
จากการศึกษาวิจัย พบสภาพปัญหาและได้วิเคระห์ถึงเหตุที่ท าให้เกิดปัญหา เพื่อน าเสนอ
แนวทางการด าเนินงานในรูปข้อเสนอแนะถึงแนวทางการด าเนิงานก าหนดแนวเขตพื้นที่สงวนหวงห้าม
ของรัฐที่มีการยอมรับและไม่กระทบสิทธิของประชาชน ทั้งให้พื้นที่สงวนหวงห้ามของรัฐที่ก าหนด มีสภาพ
มั่นคงไม่เสียหายหรือเสื่อมสภาพไป ซึ่งสามารถน าไปปรับใช้ในเชิงนโยบายและการปฏิบัติได้ ต่อไป
คณะนักวิจัย
(นายสถิตย์พงษ์ สุดชูเกียรติ และคณะ)