Page 229 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 229

๒๐๒




               ร่วมกันระหว่ำงหน่วยงำนต่ำงๆ ซึ่งปัจจุบันแต่ละหน่วยงำนต่ำงถือตำมกฎหมำยที่หน่วยงำนมีอยู่ และ
               ที่ส ำคัญยังมีปัญหำกำรทับซ้อนกัน และยังไม่สำมำรถแก้ไขหำข้อยุติได้ เพรำะเป็นแผนที่ตำมกฎหมำย

               กำรแก้ไขท ำได้ยำก ดังนั้น ท ำอย่ำงไรจึงจะสร้ำงมำตรฐำนไม่ให้เกิดปัญหำทับซ้อนกันอีก นอกจำกนั้น
               ยังน ำเสนอให้เห็นถึงขั้นตอนกำรก ำหนดขอบเขตพื้นที่ของรัฐ ปัญหำในกำรก ำหนดแนวเขตที่ดิน

               ของประเทศไทย และประสบกำรณ์ในกำรบริหำรจัดกำรแก้ไขปัญหำจำกต่ำงประเทศ

                              บทที่ ๓ เป็นกำรเสนอถึงกำรทบทวนกฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำรมีส่วนร่วมในกำรเข้ำถึง
               ข้อมูลข่ำวสำร และกำรกระจำยอ ำนำจ ซึ่งที่ผ่ำนมำประเด็นเหล่ำนี้ยังเกิดขึ้นได้ไม่เต็มที่ เช่น กำรกระจำย

               อ ำนำจเป็นเพียงกำรกระจำยอ ำนำจจำกหน่วยงำนภำครัฐส่วนกลำงไปสู่หน่วยงำนภำครัฐส่วนท้องถิ่น

               ยังไม่ใช่เป็นกำรกระจำยอ ำนำจไปสู่ประชำชนจริงๆ จนถึงปัจจุบันกำรมีส่วนร่วมดังกล่ำว ยังไม่มี
               ควำมก้ำวหน้ำ ดังนั้น จึงท ำให้เกิดปัญหำสะสมเรื่อยมำจนถึงปัจจุบัน

                              บทที่ ๔ ได้ชี้ให้เห็นถึงสภำพปัญหำที่เกิดขึ้นจำกกำรก ำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ

               จำกพื้นที่กรณีศึกษำ ๗ กรณี โดยเลือกจำกค ำร้องเรียนของคณะอนุกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
               ด้ำนที่ดินและป่ำ ซึ่งพบว่ำ ข้อมูล ณ เดือนมกรำคม ๒๕๕๗ มีจ ำนวนค ำร้องอยู่ประมำณ ๒๙๖ ค ำร้อง

               ในนั้นเป็นปัญหำกำรทับซ้อนที่ดินของรัฐถึง ๒๖๙ ค ำร้อง หรือคิดเป็นร้อยละ ๙๑ ของค ำร้องทั้งหมด
               เป็นที่ดินเอกชนเพียง ๒๗ ค ำร้อง หรือคิดเป็นร้อยละ ๙ ของค ำร้องทั้งหมด

                                ส ำหรับพื้นที่กรณีศึกษำ ๗ กรณี เป็นกรณีที่ดินเขตพื้นที่ป่ำไม้ ๖ กรณี และพื้นที่

               สำธำรณะประโยชน์ ๑ กรณี โดยพื้นที่กรณีศึกษำดังกล่ำว ได้แก่ ๑) กรณีแนวเขตอุทยำนแห่งชำติ

               ศรีนครินทร์ทับซ้อนกับแนวเขตพื้นที่ถอนกำรหวงห้ำมที่รำชพัสดุที่ได้หวงห้ำมไว้ เพื่อประโยชน์ในรำชกำรทหำร
               ต ำบลนำสวน และด่ำนแม่แฉลบ อ ำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกำญจนบุรี  ๒) กรณีแนวเขตป่ำสงวนแห่งชำติ
               ทับซ้อนที่ดินท ำกินของประชำชน บ้ำนตำกแดด ต ำบลยำงหัก อ ำเภอปำกท่อ จังหวัดรำชบุรี  ๓) กรณี

               ปัญหำแนวเขตอุทยำนแห่งชำติทับลำนทับซ้อนแนวเขตพื้นที่เขตปฏิรูปที่ดิน และข้อขัดแย้งกำรใช้

               ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่อ ำเภอวังน้ ำเขียว จังหวัดนครรำชสีมำ ๔) กรณีแนวเขตหวงห้ำมที่ดิน และหนังสือ
               ส ำคัญส ำหรับที่หลวง (น.ส.ล.) ทับซ้อนที่อยู่อำศัยและที่ดินท ำกิน พื้นที่หนองหำร อ ำเภอเมือง และอ ำเภอ
               โพนนำแก้ว จังหวัดสกลนคร ๕) กรณีกำรเตรียมกำรประกำศอุทยำนแห่งชำติถ้ ำผำไท ท้องที่บ้ำนกลำง

               ต ำบลบ้ำนดง อ ำเภอแม่เมำะจังหวัดล ำปำง ๖) กรณีแนวเขตอุทยำนแห่งชำติใต้ร่มเย็นทับซ้อนที่ดินท ำกิน

               ของประชำชน อ ำเภอเวียงสระ อ ำเภอนำสำร และอ ำเภอกำญจนดิษฐ์ จังหวัดสุรำษฎร์ธำนี  และ ๗) กรณี
               แนวเขตห้ำมล่ำสัตว์ป่ำทะเลน้อยซ้อนทับที่อยู่อำศัยและที่ดินท ำกินของรำษฎร ต ำบลพนำงตุง อ ำเภอควนขนุน
               จังหวัดพัทลุง และต ำบลแหลม อ ำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมรำช


                              พื้นที่ทั้ง ๗ กรณี ได้ชี้ให้เห็นถึงประเด็นปัญหำที่สอดคล้องกับ บทที่ ๒ และบทที่ ๓
               ซึ่งพบว่ำ ปัญหำเกิดขึ้นจำกกฎหมำยที่ก ำหนด ระยะเวลำกำรแก้ไขปัญหำที่ยำวนำน หลำยประเด็น

               ที่สำมำรถแก้ไขปัญหำได้ แต่กลับไม่แก้ไขปัญหำให้หำข้อยุติได้ หลำยประเด็นมีมติไปแล้ว แต่ไม่มีกำร
               ด ำเนินกำรตำมที่มีมตินั้น
   224   225   226   227   228   229   230   231   232   233