Page 227 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 227

๒๐๐




                              เรื่องที่สอง เรื่องกำรมีส่วนร่วมของประชำชน ถือว่ำเป็นเรื่องที่มีควำมส ำคัญที่สุด
               เจ้ำหน้ำที่ของรัฐควรต้องรับฟังข้อมูลและควำมเห็นจำกประชำชน และให้ประชำชนเข้ำมำมีส่วนร่วม

               ในกำรตัดสินใจ ซึ่งเป็นกำรมีส่วนร่วมที่ส ำคัญที่สุด

                               ทั้งสองเรื่องนี้เป็นสำระส ำคัญของงำนวิจัยครั้งนี้ ซึ่งมีที่มำจำกปัญหำกำรทับซ้อนกับที่ดิน

               ของรัฐ ที่เสนอแนวทำงแก้ไขปัญหำด้วยแนวคิดสองเรื่องดังกล่ำว โดยคณะผู้วิจัยได้เลือกกรณีศึกษำ
               ๗ กรณี จำกภำคต่ำงๆ เพื่อชี้ให้เห็นหลักฐำนควำมเป็นจริงที่เกิดขึ้นดังกล่ำว และสะท้อนให้เห็นข้อเท็จจริงว่ำ
               เกิดปัญหำในสองเรื่องดังกล่ำวได้อย่ำงไร โดยใช้มุมมองกำรวิเครำะห์ทำงวิชำกำร ซึ่งกำรด ำเนินงำนเหล่ำนี้

               เป็นหน้ำที่ของคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ ที่อยำกให้หน่วยงำนของรัฐยึดหลักสิทธิชุมชน

               เป็นหลักกำรในกำรปฏิบัติงำน เพื่อน ำไปสู่ควำมเข้ำใจ สร้ำงควำมปรองดอง และแก้ไขปัญหำควำมขัดแย้ง
               ตรงนี้จึงเป็นกระบวนกำรและเป้ำหมำยที่ส ำคัญที่คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ ได้ตั้งเป้ำหมำย
               เอำไว้ เพื่อให้กำรก ำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ ได้ก ำหนดขึ้นบนหลักสิทธิชุมชนและกำรมีส่วนร่วมของ

               ประชำชน ซึ่งงำนวิจัยนี้คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติจะผลักดันเสนอต่อรัฐบำล รัฐมนตรีว่ำกำร

               กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม และรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึง
               กำรเสนอต่อรัฐสภำในกรณีที่ต้องแก้ไขกฎหมำยต่ำงๆ

                       ๒. กำรน ำเสนอร่ำงรำยงำนกำรศึกษำวิจัยฉบับสมบูรณ์  โดย นำยสถิตย์พงษ์ สุดชูเกียรติ

               ได้น ำเสนอต่อที่ประชุมว่ำ

                              กำรก ำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐที่ผ่ำนมำ ส่วนใหญ่แล้วเจ้ำหน้ำที่หน่วยงำนของรัฐ

               ปฏิบัติงำนตำมกฎระเบียบของทำงรำชกำรในมุมมองของปัจจุบัน โดยไม่ได้มองย้อนกลับไปในอดีต
               ซึ่งงำนวิจัยนี้ได้ชี้ไว้ในหลำยแห่งว่ำ กำรก ำหนดแนวเขตต่ำงๆ ในที่ดินสงวนหวงห้ำมของรัฐ เป็นเรื่องที่
               จัดท ำขึ้นมำในอดีตนำนแล้ว ดังนั้น สิ่งส ำคัญคือไม่สำมำรถน ำมำใช้ได้ในปัจจุบัน ทำงรำชกำรต้องกำร

               ให้ประชำชนเคำรพกฎหมำย แต่สิ่งส ำคัญคือ ยังมีสิ่งที่กฎหมำย กฎระเบียบต่ำงๆ ยังไม่ครอบคลุมหลักกำร

               ส ำคัญของกำรมีส่วนร่วมของประชำชน

                              โครงกำรวิจัยในครั้งนี้ มีควำมเป็นมำจำกปัญหำที่เกิดขึ้นจำกกำรก ำหนดแนวเขตที่ดิน
               ของรัฐ ซึ่งในประเทศไทยจัดท ำเป็นแผนที่แนบท้ำยพระรำชกฤษฎีกำหรือกฎกระทรวงเป็นส่วนใหญ่ และ

               ก ำหนดขึ้นโดยรัฐไปประกำศทับซ้อนที่ดินที่ประชำชนใช้ประโยชน์ ทั้งที่ใช้อยู่ก่อนหรือเข้ำไปอยู่หลัง
               ซึ่งทำงคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติเห็นว่ำมีควำมส ำคัญ จึงสนับสนุนให้ท ำกำรศึกษำวิจัยในครั้งนี้


                              ส ำหรับกรณีศึกษำ ส่วนใหญ่จะเป็นแนวเขตที่ดินป่ำไม้ที่มีกำรทับซ้อนกับที่ดินท ำกิน
               ของประชำชน เนื่องจำกว่ำพื้นที่ป่ำไม้มีขนำดพื้นที่มำกที่สุดและเกิดปัญหำมำกที่สุดในปัจจุบัน สำเหตุ
               กำรเกิดปัญหำเรื่องแนวเขตที่ส ำคัญประกำรหนึ่ง คือ กำรไม่ได้มีกำรมีส่วนร่วมระหว่ำงภำคประชำชนและ

               ภำครำชกำร เพรำะระบบกำรบริหำรรำชกำรในอดีตก่อนมีกฎหมำยรัฐธรรมนูญปี ๒๕๔๐ ยังไม่มีเรื่องของ

               กำรมีส่วนร่วม หรือกำรกระจำยอ ำนำจ แต่เป็นยุคที่ท ำงำนในลักษณะเจ้ำนำย ส่วนประชำชนคือผู้ที่รับ
               ค ำสั่งจำกข้ำรำชกำร ซึ่งรับค ำสั่งจำกรัฐบำลอีกทอดหนึ่ง และประชำชนต้องเชื่อฟังรัฐ ต่อมำเมื่อมี
   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232