Page 12 - ตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยเป็นภาคี : จากเว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ
P. 12

ตารางสรุปตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยเป็นภาคี

        ตราสารระหว่างประเทศ                      สาระส าคัญ                              วัน/เดือน/ปี                       ค าแถลงตีความ(Declaration) /
          ด้านสิทธิมนุษยชน                                                              การเข้าเป็นภาคี                        ข้อสงวน (Reservation)
      5. อนุสัญญาว่าด้วยการขจัด  ส่วนที่ 1 (ข้อ 1-7) กล่าวถึงค าจ ากัดความของค าว่าการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ ว่า  - ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติ - ไทยมีค าแถลงตีความทั่วไปว่า รัฐบาลไทยจะไม่ตีความหรือใช้บทบัญญัติใดๆ ที่ปรากฏใน
      การเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ  หมายถึง การจ าแนก กีดกัน การจ ากัดหรือการเอื้ออ านวยพิเศษ เพราะเชื้อชาติ สีผิว เชื้อ   เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2546 และมี  อนุสัญญาเป็นพันธกรณีเกินกว่ารัฐธรรมนูญและกฎหมายภายในของไทยได้บัญญัติไว้
      ในทุกรูปแบบ         สาย หรือชาติก าเนิด หรือเผ่าพันธุ์  และการด าเนินมาตรการเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติทาง ผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 27
      Convention on the   เชื้อชาติในทุกรูปแบบ                                   กุมภาพันธ์ 2546
      Elimination of All Forms
      of Racial Discrimination   ส่วนที่ 2 (ข้อ 8-16) กล่าวถึงการจัดตั้งคณะกรรมการการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ  - ไทยมีข้อสงวนข้อ 4  โดยตีความว่าข้อบทดังกล่าวที่ให้รัฐภาคีด าเนินมาตรการเชิงบวกในการ
      (CERD)               พันธกรณีของรัฐในการจัดท ารายงานของรัฐภาคี และการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ   ขจัดการกระตุ้นหรือการเลือกปฏิบัติตามที่ระบุในข้อ 4(ก) (ข) (ค) ก็ต่อเมื่อพิจารณาเห็นว่ามี
                                                                                                         ความจ าเป็นที่จะต้องออกเป็นกฎหมายเท่านั้น  และข้อ 22 ว่าด้วยกรณีเกิดข้อพิพาทระหว่าง
                          ส่วนที่ 3 (ข้อ 17-25) กล่าวถึงกระบวนการเข้าเป็นภาคีและการแก้ไขบทบัญญัติเพิ่มเติม  รัฐภาคีโดยไม่สามารถเจรจาตกลงด้วยวิธีการอื่นใด และรัฐคู่กรณีเสนอให้ศาลยุติธรรมระหว่าง
                          ของอนุสัญญา
                                                                                                         ประเทศพิจารณา


      6. อนุสัญญาว่าด้วยการ  ส่วนที่ 1 (ข้อ 1-16) กล่าวถึงค านิยามของ "การทรมาน" บทบัญญัติว่าด้วยการก าหนดให้  - ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติ  - ไทยมีค าแถลงตีความ ข้อ 1 เรื่องค านิยามของค าว่า "การทรมาน"   ข้อ 4 เรื่องการ
      ต่อต้านการทรมาน และการ  การทรมานเป็นความผิดที่ลงโทษได้ตามกฎหมายอาญา เขตอ านาจที่เป็นสากลเกี่ยวกับ   เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2550 และมีผล  ก าหนดให้การทรมานทั้งปวงเป็นความผิดที่ลงโทษได้ตามกฎหมายอาญา  และข้อ 5 เรื่องให้
      กระท าอื่นๆ ที่โหดร้าย ไร้  ความผิดการทรมาน และหลักการส่งผู้ร้ายข้ามแดน    บังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 1   รัฐภาคีด าเนินมาตรการต่างๆ ที่อาจจ าเป็นเพื่อให้ตนมีเขตอ านาจเหนือความผิดที่อ้างถึงตาม
      มนุษยธรรม หรือที่ย่ ายีศักดิ์ศรี                                           พฤศจิกายน 2550          ข้อที่ 4 ขออนุสัญญา  โดยทั้งสามข้อให้เป็นไปตามประมวลกฎหมายอาญาของไทยที่ใช้บังคับ
      Convention Against                                                                                 อยู่ในปัจจุบัน
      Torture and other Cruel,
      Inhuman or Degrading   ส่วนที่ 2 (ข้อ 17-24) กล่าวถึงการน าบทบัญญัติไปใช้โดยการจัดตั้งคณะกรรมการต่อต้าน  - ไทยมีข้อสงวน ข้อที่ 30 วรรคหนึ่ง โดยประเทศไทยไม่รับผูกพันตามข้อบทดังกล่าว (ซึ่งระบุ
      Treatment or Punishment   การทรมานซึ่งเป็นองค์กรก ากับดูแล ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญอิสระจ านวน 10 คน ที่  ให้น าข้อพิพาทเกี่ยวกับการตีความหรือการน าอนุสัญญาฯ ไปใช้ ขึ้นสู่การวินิจฉัยชี้ขาดของ
      (CAT)               แต่งตั้งโดยภาคีสมาชิกและปฏิบัติหน้าที่ในฐานะปัจเจกบุคคลตามความสามารถ ค า       ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศได้หากคู่พิพาทฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งร้องขอ) ซึ่งการจัดท าข้อสงวนใน
                          ร้องเรียนระหว่างรัฐ ค าร้องเรียนของปัจเจกบุคคล อ านาจคณะกรรมการต่อต้านการทรมาน  ข้อนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อไม่ยอมรับอ านาจของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นการล่วงหน้า
                                                                                                         เว้นเสียแต่ว่าจะพิจารณาเห็นสมควรเป็นกรณีๆ ไป
                          ส่วนที่ 3 (ข้อ 25-33) กล่าวถึงกระบวนการเข้าเป็นภาคี ผลใช้บังคับการแก้ไขอนุสัญญา
                          โดยเฉพาะข้อสงวน การแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติของอนุสัญญาและการระงับข้อพิพาท
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17