Page 7 - ตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยเป็นภาคี : จากเว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ
P. 7

ตารางสรุปตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยเป็นภาคี

 ตราสารระหว่างประเทศ   สาระส าคัญ   วัน/เดือน/ปี   ค าแถลงตีความ(Declaration) /
 ด้านสิทธิมนุษยชน  การเข้าเป็นภาคี         ข้อสงวน (Reservation)
 1. กติการะหว่างประเทศว่า  ส่วนที่ 1 (ข้อ 1) กล่าวถึงสิทธิในการก าหนดเจตจ านงตนเอง  - ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติ - ไทยมีค าแถลงตีความใน 4 ประเด็นคือ (1) การใช้สิทธิการก าหนดเจตจ านงตนเอง ซึ่งไทยมิ
 ด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิ   เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2539 และมีผล ให้ตีความว่า อนุญาตหรือสนับสนุนการกระท าใดๆ ที่จะเป็นการแบ่งแยกดินแดน  2) เรื่องการ
 ทางการเมือง  บังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 30   ห้ามการพิพากษาลงโทษประหารชีวิตบุคคลที่อายุต่ ากว่า 18 ปี ซึ่งไทยมีกฎหมายห้ามไว้
 ส่วนที่ 2 (ข้อ 2-5) กล่าวถึงพันธกรณีของรัฐภาคีที่รับรองจะเคารพและประกันสิทธิของ  มกราคม 2540  เรียบร้อยแล้ว 3) เรื่องการน าตัวผู้ต้องหาเข้าสู่การพิจารณาคดี โดยพลัน ซึ่งรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
 International Covenant   บุคคล รวมถึงการห้ามเลือกปฏิบัติ ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลทางเชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา   2550 ได้ก าหนดให้เจ้าพนักงานสอบสวนควบคุมตัวผู้ต้องหาได้เพียง 48 ชั่วโมง ซึ่งถือว่าได้
 on Civil and Political   ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง สัญชาติ สถานะทางเศรษฐกิจ สังคม ถิ่นก าเนิด หรือ  คุ้มครองกรณีนี้แล้ว 4)   เรื่องการห้ามโฆษณาชวนเชื่อเพื่อสงคราม นั้น ไทยถือว่าไม่รวมถึง
 Rights (ICCPR)  สภาพ    อื่นใด  สงครามเพื่อป้องกันตนเองในกรณีที่ไทยจ าเป็นต้องประชาสัมพันธ์และชักชวนให้ประชาชนรัก
                     ชาติในกรณีที่ต้องท าสงครามเพื่อป้องกันการรุกรานจากประเทศอื่น  ทั้งนี้ ไทยก าลังอยู่ใน
 ส่วนที่ 3 (ข้อ 6-27) กล่าวถึงสาระของสิทธิในส่วนที่เป็นสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง  ระหว่างการถอนถ้อยแถลงตีความข้อ (2) และ (3)
  อาทิ เสรีภาพในการมีชีวิต เสรีภาพจากการถูกทรมาน การห้ามมิให้บุคคลถูกจับกุมตาม
 อ าเภอใจ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการแสดงออก
 ส่วนที่ 4 (ข้อ 28-45) กล่าวถึงการจัดตั้งคณะกรรมการการสิทธิมนุษยชน พันธกรณีของรัฐ
 ในการจัดท ารายงานของรัฐภาคี และการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ

 ส่วนที่ 5 (ข้อ 46-47)  กล่าวถึงห้ามการตีความไปในทางขัดกับกฎหมายระหว่างประเทศ
 อื่นๆ รวมทั้งการมีให้ตีความในการที่จะลิดรอนสิทธิที่จะใช้ประโยชน์จาก
 ทรัพยากรธรรมชาติ

 2. กติการะหว่างประเทศว่า  ส่วนที่ 1 (ข้อ 1) กล่าวถึงสิทธิในการก าหนดเจตจ านงตนเอง  - ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติ - ไทยมีค าแถลงตีความในการใช้สิทธิการก าหนดเจตจ านงตนเอง ซึ่งไทยมิให้ตีความว่า
 ด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม  ส่วนที่ 2 (ข้อ 2-5) กล่าวถึงพันธกรณีของรัฐภาคีที่จะด าเนินมาตรการต่างๆ อย่าง   เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2542 และมี  อนุญาตหรือสนับสนุนการกระท าใดๆ ที่จะเป็นการแบ่งแยกดินแดน
  และวัฒนธรรม  เหมาะสมตามล าดับขั้น  ผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 5
 International Covenant   ส่วนที่ 3 (ข้อ 6-27) กล่าวถึงสาระของสิทธิ ได้แก่ สิทธิในการท างาน สิทธิในด้านการศึกษา  ธันวาคม 2542
 on Economic, Social and    สิทธิด้านสุขภาพ สิทธิในวัฒนธรรม
 Cultural Rights (ICESCR)
 ส่วนที่ 4 (ข้อ 16-25) กล่าวถึง พันธกรณีของรัฐในการจัดท ารายงานของรัฐภาคี และ
 บทบาทของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมในการตรวจสอบการปฏิบัติตามพันธกรณี
 ร่วมกับกลไกอื่นๆ ของสหประชาชาติ

 ส่วนที่ 5 (ข้อ 26-31) กล่าวถึงการเข้าเป็นภาคีและแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติของกติกา
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12