Page 10 - ตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยเป็นภาคี : จากเว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ
P. 10
ตารางสรุปตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยเป็นภาคี
ตราสารระหว่างประเทศ สาระส าคัญ วัน/เดือน/ปี ค าแถลงตีความ(Declaration) /
ด้านสิทธิมนุษยชน การเข้าเป็นภาคี ข้อสงวน (Reservation)
4. อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ส่วนที่ 1 (ข้อ 1-41) กล่าวถึงหลักการและเนื้อหาเกี่ยวกับสิทธิต่างๆ ที่เด็กพึงได้รับ - ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติ - ไทยมีข้อสงวนในข้อ 22 เรื่องสถานะของเด็กผู้ลี้ภัย ซึ่งไทยยังไม่รับสถานะผู้ลี้ภัยตาม
Convention on the Rights ประกอบด้วย สิทธิและเสรีภาพของเด็กโดยทั่วไป การคุ้มครองร่างกาย ชีวิต เสรีภาพ และ เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2535 และ กฎหมายภายในของไทยและไทยไม่ได้เป็นภาคี Convention Relating to the Status of
of the Child (CRC) สวัสดิภาพของเด็ก การให้สวัสดิการสังคมแก่เด็ก การคุ้มครองสิทธิทางแพ่ง การคุ้มครอง มีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 26 Refugees
เด็กที่มีปัญหาความประพฤติหรือกระท าความผิดทางอาญา การคุ้มเด็กผู้ด้อยโอกาส เมษายน 2535
ส่วนที่ 2 (ข้อ 42-45) กล่าวถึงหลักเกณฑ์และแบบพิธีซึ่งประเทศที่ให้สัตยาบันแก่
อนุสัญญาต้องปฏิบัติตาม
ส่วนที่ 3 (ข้อ 46-54) กล่าวถึงกลไกของอนุสัญญา ซึ่งก าหนดวิธีการติดตามดูแลการปฏิบัติ
ตามอนุสัญญา และก าหนดเงื่อนไขต่างๆ ในการบังคับใช้
- พิธีสารเลือกรับของ เป็นพิธีสารเพิ่มเติมอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กข้อ 32, 34, 35 ซึ่งว่าด้วยการแสวงประโยชน์ - ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติ
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก จากเด็กทางเศรษฐกิขและทางเพศ เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2549 และมี
เรื่อง การขายเด็ก การค้า ผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 11
ประเวณี และสื่อลามก ส่วนที่ 1 (ข้อ 1-3) กล่าวถึงการห้ามให้มีและก าหนดให้เป็นความผิดทางอาญาส าหรับการ กุมภาพันธ์ 2549
เกี่ยวกับเด็ก ขายเด็ก การค้าประเวณี และสื่อลามกเกี่ยวกับเด็ก
Optional Protocol to the ส่วนที่ 2 (ข้อ 4-6) กล่าวถึงมาตรการในการก าหนดเขตอ านาจความผิดการส่งผู้ร้ายข้าม
CRC on the sale of แดนและการสืบสวน
children, child ส่วนที่ 3 (ข้อ 7-10) กล่าวถึงมาตรการในการริบทรัพย์ที่เกี่ยวกับการกระท าผิด มาตรการ
prostitution and child คุ้มครองสิทธิและผลประโยชน์ของเด็ก นโยบายป้องกัน แก้ไข และส่งเสริมความตระหนักรู้
pornography ของสาธารณชน และความร่วมมือระหว่างประเทศในการป้องกัน แก้ไขปัญหาการบ าบัด
ฟื้นฟู และส่งกลับเด็กผู้รับเคราะห์
ส่วนที่ 4 (ข้อ 11-17) กล่าวถึงการจัดท ารายงานผลการด าเนินการตามพิธีสารเลือกรับ
- พิธีสารเลือกรับของ เป็นพิธีสารเพิ่มเติมอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กข้อ 38 เกี่ยวกับห้ามการเกณฑ์เด็กเป็นทหาร - ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติ - ไทยมีค าแถลงตีความข้อ 3 วรรค 2 สรุปว่า การปฏิบัติหน้าที่การทหารเป็นหน้าที่อันพึง
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ในภาวะสงคราม เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2549 และ ปฏิบัติตามกฎหมาย ชายไทยเมื่ออายุย่าง 18 ปี มีหน้าต้องแสดงตนเพื่อลงบัญชีทหารกองเกิน
เรื่องความเกี่ยวพันของเด็ก ส่วนที่ 1 (ข้อ 1-4) กล่าวถึงหลักการเกี่ยวกับการประกันว่าบุคคลที่อายุไม่ถึง 18 ปี จะไม่ มีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 27 ซึ่งอาจถูกเรียกให้ปฏิบัติราชการทหารในกองได้ยามประเทศทีสงครามหรือประสบภาวะวิกฤต
ในความขัดแย้งกันด้วยก าลัง ถูกเกณฑ์เข้าร่วมในการสู้รบในกองทัพของรัฐ หรือกลุ่มกองก าลังติดอาวุธ มีนาคม 2549 การคัดเลือกบุคคลเข้าสู่โรงเรียนทหารเหล่าต่างๆ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความสมัครใจ การ
อาวุธ ส่วนที่ 2 (ข้อ 5-7) กล่าวถึงการบังใช้กฎหมายภายในประเทศและระหว่างประเทศที่ ผ่านการสอบคัดเลือก และต้องได้รับความยินยอมจากผู้ปกครอง นักเรียนมัธยมศึกษาตอน
- Optional Protocol to เกี่ยวข้อง รวมถึงการด าเนินการตามข้อบทของพิธีสาร และการให้ความร่วมมือในการ ปลายทั้งชายและหญิง สามารถเข้ารับการฝึกวิชาทหารได้โดยต้องได้รับความยินยอมจาก
the CRC on the ช่วยเหลือระดับพหุภาคีหรือทวิภาคีในการฟื้นฟูด้านวิชาการและด้านการเงิน ผู้ปกครอง และการจัดตั้งกองก าลังอื่นใดที่ไม่ได้จัดตั้งขึ้นโดยรัฐ เป็นข้อห้ามตามกฎหมาย โดย
involvement of children ไม่มีข้อยกเว้นในเรื่องอายุของผู้เข้าร่วมแต่อย่างใด
in armed conflicts ส่วนที่ 3 (ข้อ 8-13) กล่าวถึงการจัดท ารายงานผลการด าเนินการตามพิธีสารเลือกรับ