Page 114 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 114

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

                            1.4) พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535

                            สถานการณสัตวปาที่ลดจํานวนลงมากทั้ง ๆ ที่รัฐบาลไดมีมาตรการในการคุมครองสัตวปา

               มานาน เริ่มจากการตราพระราชบัญญัติสําหรับรักษาชางปา ใน ร.ศ. 119 (พ.ศ. 2443) ในสมัยพระบาท
               สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเพื่อควบคุมการจับ การลา และฆาชาง รัฐบาลสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต

               เปนนายกรัฐมนตรีไดออกพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2503 ซึ่งไดจําแนกสัตวปาไวเปน

               2 หมวด ไดแก สัตวปาสงวนและสัตวปาคุมครอง
                            สัตวปาสงวน หมายถึง สัตวปาที่หาไดยาก บางชนิดมีจํานวนลดลงมากจนสูญพันธุไป สัตวปาสงวน

               ไดรับความคุมครองตามกฎหมายหามมิใหผูใดลา ยกเวนเพื่อการศึกษาและวิจัยเทานั้น
                            สัตวปาคุมครอง แบงออกไดเปน 2 ประเภท

                            -  สัตวปาคุมครองประเภทที่ 1 หมายถึง สัตวปาซึ่งตามปกติคนไมกินเนื้อเปนอาหาร ไมลา

               เพื่อการกีฬาหรือเปนสัตวปาที่ทําลายศัตรูพืช หรือขจัดสิ่งปฏิกูล หรือเปนสัตวปาที่ควรสงวนไวประดับความงาม
               ตามธรรมชาติ

                            -  สัตวปาคุมครองประเภทที่ 2 หมายถึงสัตวปาซึ่งตามปกติคนกินเนื้อเปนอาหารหรือลาเพื่อการกีฬา
                            สัตวปาสงวนและสัตวปาคุมครองทั้ง 2 ประเภท ก็ยังลดนอยลงอีกจนบางชนิด จึงไดมีการแกไข

               เพิ่มเติม โดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 228 ลงวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2515 เพื่อการสงวนและคุมครอง

               สัตวปาตลอดจนรักษาสภาพสิ่งแวดลอมที่อยูอาศัยของสัตวปา และในป พ.ศ. 2518 ไดมีการประชุมเกี่ยวกับ
               การคาพืชและสัตวหายากขึ้นระหวางประเทศตาง ๆ จํานวน 96 ประเทศ ผลจากการประชุมไดกําหนดหาม

               ทําการคาขายพืชและสัตวจํานวน 675 ชนิดโดยเด็ดขาด เนื่องจากอยูในภาวะที่ใกลจะสูญพันธุ จึงไดมีการ

               ออกพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 ขึ้นมาใชแทนพระราชบัญญัติฉบับเดิม โดยมี
               การอนุญาตใหภาคเอกชนดําเนินกิจการสวนสัตวสาธารณะได เพาะพันธุสัตวปาคุมครองบางชนิดได เพื่อเปนการ

               อนุรักษและขยายพันธุสัตวปาและเสริมรายไดของประชาชน นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มโทษตอการกระทําความผิด

               ใหสูงขึ้น ดังสาระสําคัญของกฎหมายตามที่ฝายพัฒนาและสงเสริมการอนุรักษสัตวปา กรมปาไมไดรวบรวมไว ดังนี้
                            -  ยกเลิกพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2503 และประกาศคณะปฏิวัติ

               ฉบับที่ 228 ลงวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2515
                            -  ยกเลิกใบอนุญาตตาง ๆ ที่ออกตามพระราชบัญญัติเดิมทั้งหมด

                            -  สําหรับกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ ที่ออกตามพระราชบัญญัติเดิมใหใชตอไป

               หากไมขัดแยงกับพระราชบัญญัติฉบับนี้จนกวาจะมี กฎ ระเบียบ และประกาศฉบับใหมออกมาใชบังคับ เชน
               ชนิดสัตวปาคุมครองตามพระราชบัญญัติเดิมยังคงใหเปนสัตวปาคุมครองตามพระราชบัญญัติฉบับใหมไปกอน











                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  93
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119