Page 54 - การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว และฉบับที่ 98 ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัว และการร่วมเจรจาต่อรอง และการอนุวัติกฎหมายภายใน
P. 54
ข้อกังวลต่อการเข้าเป็นภาคี เหตุผลสนับสนุนการเข้าเป็นภาคี
การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาดังกล่าวจะ กฎหมายไทยยังให้ความคุ้มครองสิทธิ
เป็นภาระของรัฐบาลและหน่วยงานของ ของคนทำางานในการสมาคมรวมตัวและ
รัฐที่มีอำานาจหน้าที่ในการเขียนรายงาน เจรจาต่อรองที่จำากัดและเปิดโอกาสให้
และถูกตรวจสอบจากองค์การแรงงาน คนทำางานที่รวมตัวกันนัดหยุดงานถูก
ระหว่างประเทศ เลิกจ้างได้ และแม้จะไม่ได้ให้สัตยาบัน
รัฐบาลก็ไม่อาจหลีกเลี่ยงที่จะต้องส่ง
รายงานว่าด้วยสิทธิของแรงงานไปยัง
คณะกรรมการภายใต้ ILO และในกรณี
ที่มีการละเมิดรัฐบาลก็สามารถถูกร้อง
เรียนต่อคณะกรรมการเสรีภาพใน
การสมาคมได้
หากเข้าเป็นภาคีแล้วจะทำาให้มีการจัดตั้ง จากประสบการณ์ในประเทศที่ได้ให้
สหภาพขนาดเล็กขึ้นมาจำานวนมาก และ สัตยาบันอนุสัญญาสองฉบับนี้แล้ว
จะทำาให้การนัดหยุดงานขยายตัว ไม่พบว่าเกิดการจัดตั้งสหภาพขนาดเล็ก
จำานวนมากอย่างที่กังวลกัน ตรงกันข้าม
กลับเกิดการรวมตัวเป็นสหภาพแรงงาน
ขนาดใหญ่ที่มีจำานวนน้อยลง และพบว่า
การนัดหยุดงานได้ลดน้อยลงไปด้วย
เพราะคนทำางานกับฝ่ายนายจ้าง
มีช่องทางในการพูดคุยกันอย่างเป็นเหตุ
เป็นผลกันมากขึ้น ๒
๒ ศักดินา ฉัตรกุล ณ อยุธยา. (๒๕๕๓). อนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๘๗ และ ๙๘ : ทำาไมต้อง
ให้สัตยาบัน? หน้า ๒๘.
52 การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ ๘๗ ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว
และฉบับที่ ๙๘ ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรอง และการอนุวัติกฎหมายภายใน