Page 164 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 164
163
รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง
การจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ตัวชี้วัดที่ ๕.๘ ก�รมีน้ำ�สะอ�ดส�หรับอุปโภคบริโภค (UDHR-5.8)
ตัวชี้วัดโครงสร้าง (A/a) ตัวชี้วัดกระบวนการ (B/b) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (C/c) คำาอธิบาย
ตัวชี้วัดหลัก (A) ตัวชี้วัดหลัก (B) ตัวชี้วัดหลัก (C) การมีน้ำาสะอาดสำาหรับ
๑. มีรัฐธรรมนูญรับรองสิทธิ ๑. มีแผนและองค์กรจัดการน้ำา ๑. เรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับ อุปโภคบริโภค
ของบุคคลในการมีน้ำาสะอาด เพื่อการเกษตร ความเป็นธรรมในการ
และรับรองสิทธิของบุคคล ๒. แผนการจัดการป้องกัน กระจายน้ำา
และกลุ่มบุคคลในการ ความขัดแย้งจากการใช้น้ำา
มีส่วนร่วมในการจัดการ
แหล่งน้ำา
ตัวชี้วัดรอง (a) ตัวชี้วัดรอง (b) ตัวชี้วัดรอง (c)
๒. มีกฎหมายส่งเสริมและ ๓. มีองค์กรที่มีหน้าที่บริการ ๒. จำานวนประชากรที่เข้าถึง
ควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อม จ่ายน้ำาดื่ม น้ำาบริโภค น้ำาประปา/บาดาล (สัดส่วน
(กปน. กปภ.) โดยอยู่บน คำาขอ และการจัดหาให้)
หลักการโอกาสที่เท่าเทียม ๓. จำานวนคดีเกี่ยวกับข้อ
ในการเข้าถึงน้ำา พิพาทเกี่ยวกับการใช้น้ำา
๔. มีนโยบายจัดหาน้ำาสะอาด ที่ร้องเรียนเกี่ยวกับมลพิษ
เพื่อให้ประชาชนมีน้ำา ทางน้ำา (อุบัติเหตุ/ตั้งใจทำา/
อย่างทั่วถึง (โยงกับกรม และเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับ
น้ำาบาดาล) Incident)
๕. มีนโยบายของรัฐบาล ๔. จำานวนคนที่ตายเนื่องจาก
ในการทำาให้บุคคลเข้าถึง โรคที่เกี่ยวข้องกับน้ำา
น้ำาสะอาดสำาหรับอุปโภค ๕. สัดส่วนการเข้าถึงน้ำาสะอาด
และบริโภค ในกรณีเกิดภัยสาธารณะ
๖. มีหน่วยงานของรัฐกำากับ ในระยะเวลาเหมาะสม
ดูแลการให้บริการน้ำาประปา (๑ วัน)
(กปน. /กปภ.)
๗. มีแผนและนโยบายเกี่ยวกับ
การป้องกันมลพิษทางน้ำา
๘. มีนโยบายจัดหาน้ำาสะอาด
อย่างทั่วถึงให้ประชาชน
นอกเขตเมือง (โยงกับ
กรมน้ำาบาดาล)