Page 163 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 163

162


       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง
       การจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน


                ตัวชี้วัดที่ ๕.๗ ก�รมีที่อยู่อ�ศัยที่พอเพียง (UDHR-5.7)

                  ตัวชี้วัดโครงสร้าง (A/a)  ตัวชี้วัดกระบวนการ (B/b)  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (C/c)  คำาอธิบาย

                     ตัวชี้วัดหลัก (A)      ตัวชี้วัดหลัก (B)     ตัวชี้วัดหลัก (C)  • คณะกรรมการประจำา

                ๑.  มีกฎหมายรับรองสิทธิ  ๑.  มีกลไกในการคุ้มครองและ ๑.  จำานวน/สถานการณ์ หรือ  ICESCR  เน้นว่าที่อยู่
                  ในที่ดินของบุคคล/การ   ระงับข้อพิพาทในกรณีถูก  สถานการณ์คนจรจัด คนไร้  อาศัยที่มีความปลอดภัย
                  กำาหนดให้มีค่าชดเชย    รัฐขับไล่จากที่ดินของรัฐ  ที่อยู่ หรือคนใต้สะพาน/เพิง/  สงบสุข และมีศักดิ์ศรี
                  การเวนคืนที่ดิน      ๒. มีเกณฑ์และการปฏิบัติ   สลัมที่เป็นที่อยู่ที่ไม่ถาวร  • หลักประกัน ความเป็น
                                         ในการจัดหาแหล่งพักพิง ๒. จำานวนครัวเรือนที่ถูกเวนคืน  เจ้าของ การเช่า การเป็น
                                         ฉุกเฉินที่พอเพียงให้ให้กับ  ที่ดิน/หรือถูกบังคับไล่ที่  เจ้าของกรรมสิทธิ์ สหกรณ์
                                         บุคคลในกรณีเกิดสาธารณภัย ๓.  สัดส่วนครัวเรือนที่เข้าถึง  การแบ่งเช่า  บ้านพัก
                                         หรือถูกบังคับไล่ที่ และได้มี  บริการ ที่พักพิงที่พอเพียง  ฉุกเฉิน  รวมถึง  การ
                                         การนำาเกณฑ์ไปใช้       ชั่วคราวกับสัดส่วนครัวเรือน   ครอบครองที่ดิน
                                                                ที่ต้องการบริการสาธารณะ  • การไม่ถูกขับไล่ออกจาก
                                                                ด้านที่พักพิงชั่วคราวในกรณี   ที่ดิน/การคุกคามการ
                                                                ที่เกิดภัยพิบัติสาธารณะ   อาศัย
                                                                ในระยะเวลา ๒ วัน นับแต่  • สิ่งอานวยความสะดวก
                                                                ระยะเวลาที่เกิดภัยพิบัติขึ้น  พื้นฐานจำาเป็น “มาตรฐาน
                                                                                      ในการดารงชีวิต” เหมาะ
                     ตัวชี้วัดรอง (a)       ตัวชี้วัดรอง (b)       ตัวชี้วัดรอง (c)   ที่จะเป็นที่อาศัย

                ๒. มีกฎหมายรับรองสิทธิ  ๒. มีกระบวนการในการพิจารณา  ๔. ความเหมาะสมของค่าชดเชย   • สภาพสิ่งแวดล้อมกายภาพ
                  เกี่ยวกับทรัพย์สิน  สิทธิ  ค่าชดเชยจากการเวนคืน  ค่าเวนคืนที่ดินที่ทำาโดยรัฐ   และสังคม
                  ความเป็นเจ้าของ และสิทธิ ๓.  การมีแหล่งเงินกู้เพื่อที่อยู่  เช่น  ราคา (ตลาด)  และ  • กฎหมายป้องกันการไล่
                  การเช่าที่อยู่อาศัย    อาศัยที่มีอัตราดอกเบี้ยต่ำา  ระยะเวลา (ไม่ช้าเกินควร)   ที่
                                         สำาหรับคนมีรายได้น้อย  เป็นต้น                - การชดเชยการบังคับ
                                                             ๕. จำานวนที่อยู่อาศัย (หน่วย/      ไล่ที่
                                                                ต่อปี)  ที่ดำาเนินการโดย      -   การฟ้องร้อง การกระทำา
                                                                การเคหะแห่งชาติ        ที่ขัดกฎหมาย
                                                                                    • กฎหมายคุ้มครอง
                                                                                      ผู้บริโภคที่ได้รับความ
                                                                                      เสียหายจากที่อยู่อาศัย
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168