Page 141 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 141
140
รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง
การจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ตัวชี้วัดที่ ๓.๔ ก�รได้รับก�รพิจ�รณ�คดีข้อพิพ�ทในด้�นสิทธิและหน้�ที่ โดยศ�ลที่เป็นกล�ง อิสระ เที่ยงธรรม
และมีประสิทธิภ�พ (UDHR-3.4)
ตัวชี้วัดโครงสร้าง (A/a) ตัวชี้วัดกระบวนการ (B/b) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (C/c) คำาอธิบาย
ตัวชี้วัดหลัก (A) ตัวชี้วัดหลัก (B) ตัวชี้วัดหลัก (C) การได้รับการพิจารณาคดี
๑. มีรัฐธรรมนูญรับรองความ ๑. มีนโยบาย กลไก ในการ ๑. จำานวนคดีที่มีการร้องเรียน ข้อพิพาทในด้านสิทธิและ
เป็นกลางและความเป็นอิสระ ตรวจสอบความเป็นกลาง ว่าบุคลากรวิชาชีพตุลาการ/ หน้าที่ โดยศาลที่เป็นกลาง
ของผู้พิพากษา และตุลาการ และความเป็นอิสระของ อัยการ ปฏิบัติหน้าที่โดย อิสระ เที่ยงธรรม และ
๒. มีกฎหมายกำาหนดให้บุคคล บุคลากรในอาชีพตุลาการ/ มิชอบขาดความเที่ยงธรรม/ มีประสิทธิภาพ
ที่ใช้อำานาจหน้าที่หรือใช้ อัยการ อยู่ภายใต้อิทธิพลของอำานาจ
อิทธิพลโดยมิชอบด้วย ๒. มีกระบวนการและกลไก ที่มิชอบโดยกฎหมาย
กฎหมายแทรกแซงการ การบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับ ๒. รายงานความเป็นอิสระและ
ปฏิบัติงานของบุคลากรใน ความเป็นอิสระ ซึ่งรวมถึง ความน่าเชื่อถือของบุคลากร
กระบวนการยุติธรรม แนวปฏิบัติ หรือจริยธรรม ของศาลและตุลาการซึ่ง
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ตุลาการ/ ของตุลาการ รายงานโดยผู้รายงานพิเศษ
อัยการ/เจ้าหน้าที่ตำารวจ สหประชาชาติ และองค์กร
และราชทัณฑ์ เป็นความผิด สิทธิมนุษยชนระหว่าง
ทางอาญาที่รุนแรง ประเทศ
ตัวชี้วัดรอง (a) ตัวชี้วัดรอง (b) ตัวชี้วัดรอง (c)
๓. มีกฎหมายกำาหนดให้การ ๓. มีการเผยแพร่คำาพิพากษา/ ๓. ความเชื่อถือและยอมรับ
เรียกรับสินบนของบุคลากร คำาวินิจฉัย/ความเห็นของคดี คำาพิพากษาของบุคคลที่
วิชาชีพ ตุลาการ/อัยการ สู่สาธารณชน และประชาชน เกี่ยวข้องในคดี
เป็นความผิดอาญาที่รุนแรง แสดงความคิดเห็น วิพากษ์ ๔. ทัศนคติของประชาชนที่มี
๔. มีกฎหมายรับรองการวิพากษ์ วิจารณ์ คำาวินิจฉัยได้ ต่อบุคคลที่อยู่ในวิชาชีพ
วิจารณ์คำาพิพากษาที่กระทำา ๔. มีกระบวนการในการรื้อฟื้น กฎหมายมีการเปลี่ยนแปลง
โดยสุจริตและอยู่บนพื้นฐาน คดีที่มีการพิจารณาคดีอาญา ในทางที่ดีขึ้นหรือลดลง
ทางวิชาการและข้อเท็จจริง ผิดพลาดขึ้นมาพิจารณาใหม่ ๕. มีการปฏิบัติตามแผนและ
และในกรณีที่ผู้ที่เคยถูก นโยบายปฏิรูปการบริหาร
พิพากษาว่ากระทำาผิดเป็น ในระบบยุติธรรม
ผู้บริสุทธิ์ต้องมีการยกเลิก
ความผิด
๕. บุคลากรในวิชาชีพตุลาการ
มีเงินเดือนที่พอเพียง
ในการปฏิบัติหน้าที่ให้มี
ความเป็นอิสระ
๖. มีแผนและนโยบายเพื่อ
สร้างความน่าเชื่อถือ เชื่อมั่น
และเคารพ ในระบบยุติธรรม
และในวิชาชีพ ตุลาการ/
อัยการ ต่อประชาชน