Page 137 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 137

136


       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง
       การจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน


                ตัวชี้วัดที่ ๓.๒  ก�รได้รับก�รคุ้มครองโดยกฎหม�ยอย่�งเท่�เทียมกันโดยไม่มีก�รเลือกปฏิบัติ (UDHR-3.2)

                 ตัวชี้วัดโครงสร้าง (A/a)  ตัวชี้วัดกระบวนการ (B/b)  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (C/c)  คำาอธิบาย

                    ตัวชี้วัดหลัก (A)        ตัวชี้วัดหลัก (B)        ตัวชี้วัดหลัก (C)  การได้รับการคุ้มครอง

                ๑.  การรับรองความเท่าเทียม ๑.  มีแผนปฏิบัติการระดับชาติและ ๑.  จำานวนข้อบทกฎหมายที่มี  โดยกฎหมายอย่าง
                  ของบุคคลไว้ในรัฐธรรมนูญ  ระดับกระทรวง เพื่อยุติการเลือก  การแก้ไข เปลี่ยนแปลงหรือ  เท่าเทียมกันโดยไม่มี
                  และสามารถยกขึ้นกล่าว  ปฏิบัติต่อกลุ่มที่เสี่ยง  และมีการ  มีการออกพระราชบัญญัติ  การเลือกปฏิบัติ
                  อ้างในศาลเพื่อให้บังคับ  ดำาเนินการตามแผนเพื่อส่งเสริม  เปลี่ยนแปลงกฎหมาย
                  ตามสิทธิ์ได้ (มาตรา ๓๐)  ความเท่าเทียมและความเสมอภาค  อันเนื่องมาจากกระบวนการ
                ๒. ICCPR, ICESCR, CEDAW,   ของบุคคลที่มีความแตกต่างด้านเชื้อชาติ   ทบทวนกฎหมายที่มีการ
                  CERD, CRC, CRPD,      เผ่าพันธุ์ศาสนา สภาพทางกาย และ  เลือกปฏิบัติ
                                        เพศสภาพ (เพศทางเลือก) ฯลฯ
                                      ๒. มีกระบวนการรับเรื่องร้องเรียน
                                        เกี่ยวกับการถูกเลือกปฏิบัติอย่าง
                                        ไม่เป็นธรรมที่บุคคลกลุ่มเสี่ยง
                                        สามารถเข้าถึงได้

                     ตัวชี้วัดรอง (a)         ตัวชี้วัดรอง (b)         ตัวชี้วัดรอง (c)
                          -           ๓.  มีการทบทวนกฎหมายที่มีเนื้อหาที่ ๒. จำานวนเรื่องร้องเรียนว่า
                                        อาจเป็นการเลือกปฏิบัติ (de jure   ไม่ได้รับความเป็นธรรม
                                        discrimination) และกฎหมายที่นำาไป   จากการบริการสาธารณะ
                                        สู่การปรับใช้ที่อาจทำาให้เกิดการเลือก  ของรัฐ อันเนื่องมาจาก
                                        ปฏิบัติ (de facto discrimination)   “สถานภาพของบุคคลที่
                                        เป็นระยะ (จำานวนร่าง พ.ร.บ. ที่มี   นำาไปสู่การเลือกปฏิบัติ
                                        การพิจารณา)                 อย่างไม่เป็นธรรม”
                                      ๔. มีการสนับสนุนทางนโยบายและ  ๓.  มี ก า ร ติ ด ต า ม แ ล ะ
                                        การเงินเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่ง  ตรวจสอบการดำาเนินการ
                                        แก่กลุ่มที่เสี่ยงต่อการเลือกปฏิบัติ   แผนปฏิบัติการระดับชาติ
                                        เช่น ชนกลุ่มน้อย แรงงานต่างด้าว   และระดับกระทรวงอย่าง
                                        สตรี คนพิการ (ร่างกายและจิตเวช)   ต่อเนื่อง
                                        ผู้ติดเชื้อ HIV / AIDS ฯลฯ
                                      ๕. มีการฝึกอบรมและจัดทำาคู่มือการ
                                        ปฏิบัติต่อผู้ต้องขังเพื่อให้สอดคล้อง
                                        กับมาตรฐานระหว่างประเทศสิทธิ
                                        ของผู้ต้องขัง หรือนักโทษที่จะได้รับ
                                        การปฏิบัติอย่างมีศักดิ์ศรีความเป็น
                                        มนุษย์ให้กับเจ้าพนักงานสอบสวน
                                        เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์เจ้าหน้าที่คุมประพฤติ
                                        และพินิจเจ้าหน้าที่ศาล สำานักงาน
                                        ตรวจคนเข้าเมือง  เจ้าหน้าที่สถานบำาบัด
                                        ยาเสพติด  และสถานพยาบาลจิตเวช
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142