Page 139 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 139
138
รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง
การจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ตัวชี้วัดที่ ๓.๓ ก�รได้รับก�รพิจ�รณ�คดีโดยกระบวนก�รยุติธรรมท�งอ�ญ�ที่เป็นธรรมเมื่อถูกกล่�วห�ว่�
กระทำ�คว�มผิดท�งอ�ญ� (UDHR-3.3)
ตัวชี้วัดโครงสร้าง (A/a) ตัวชี้วัดกระบวนการ (B/b) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (C/c) คำาอธิบาย
ตัวชี้วัดหลัก (A) ตัวชี้วัดหลัก (B) ตัวชี้วัดหลัก (C) การมีอิสรภาพในการเดินทาง
๑. การเป็นภาคี ICCPR ๑. มีการนำากระบวนการ ๑. ระยะเวลาเฉลี่ยการพิจารณา เลือกถิ่นที่อยู่อาศัย และ
๒. มีกฎหมายรับรองสิทธิผู้ต้องหา พิจารณาคดีอาญาที่เป็นไป คดีอาญาในศาลชั้นต้น ไม่ถูกขับออกนอกประเทศ
และจำาเลยในคดีอาญา ตามมาตรฐานระหว่าง นับตั้งแต่วันฟ้องถึงวัน โดยพลการ
สอดคล้องกับมาตรฐาน ประเทศไปใช้ในทางปฏิบัติ พิพากษาของศาลชั้นต้น
ระหว่างประเทศโดยเฉพาะ โดยมีองค์ประกอบในการ ๒. จำานวนคดีอาญาที่มีระยะเวลา
• การสันนิษฐานไว้ก่อนว่า พิจารณาดังนี้ ในการพิจารณาดำาเนินคดี
เป็นผู้บริสุทธิ์ • ต้องมีการแจ้งข้อหาตอนต้น เกินกว่าสองปี
• การได้รับการพิจารณาโดยศาล ของการจับกุมจำาเลย
ที่เป็นธรรมอย่างรวดเร็ว • การจับกุมต้องมีหมายจับ
• การมีสิทธิ์ได้รับความช่วยเหลือ ซึ่งออกโดยศาลเว้นแต่
ทางกฎหมายและสิทธิ ความผิดซึ่งหน้า
ในการประกันตัว • ผู้ต้องหามีสิทธิ์ได้รับคำา
• การแยกผู้ต้องหา / จำาเลย ปรึกษาจากทนายหรือที่
ออกจากนักโทษ ปรึกษากฎหมายในชั้น
• การได้รับการเยียวยาความ สอบสวนและในการต่อสู้
เสียหายจากกระบวนการ คดีในชั้นศาล
ยุติธรรมที่ผิดพลาด • การพิจารณาคดีอาญาจะ
• การมีสิทธิอุทธรณ์ต่อ ต้องเป็นการพิจารณาเปิด
ศาลสูงขึ้นไป และมีการ เผยในกระบวนการพิจารณา
รื้อฟื้นคดีขึ้นพิจารณาใหม่ ที่เปิดเผยต่อสาธารณะเว้น
• การมีสิทธิที่จะไม่ให้การ แต่คดีที่เกี่ยวกับผู้เยาว์หรือ
ปรักปรำาตัวเอง ต้องการคุ้มครองผลประโยชน์
ของจำาเลย
ตัวชี้วัดรอง (a) ตัวชี้วัดรอง (c)
• มีความต่อเนื่อง รวดเร็ว
- และเป็นธรรมในกระบวนการ ๓. จำานวนคดีที่สื่อมวลชนรายงาน
พิจารณาคดี ในการแถลงข่าวว่าบุคคล
• ผู้ต้องหาและจำาเลยจะต้อง นั้นกระทำาความผิดอาญา
ไม่ถูกข่มขู่คุกคามในระหว่าง ๔. จำานวนคดีที่สื่อมวลชนรายงาน
การให้ปากคำา ว่าผู้ต้องหาถูกทำาร้ายในการ
• มีกระบวนการวิธีพิจารณา ทำาแผนประกอบอาชญากรรม
ความอาญา สำาหรับเด็ก ๕. ระยะเวลาโดยเฉลี่ยของการ
และเยาวชนแยกจากผู้ใหญ่ เริ่มต้นกระบวนฟ้องจนคดี
• ในกรณีที่เด็กเป็นผู้ต้องหา ถึงที่สุด (แยกประเภทตาม
หรือจำาเลยได้มีมาตรการ อัตราโทษ)
คุ้มครองเด็กอย่างไร ต้องมี ๖. ระยะเวลาเฉลี่ยการพิจารณา
นักจิตวิทยาร่วมในการสอบสวน คดีอาญานับตั้งแต่วันฟ้อง
รวมทั้งมีทนายความร่วมใน ถึงวันพิพากษาของศาล
กระบวนการสอบสวนหรือไม่ อุทธรณ์