Page 144 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 144
143
รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง
การจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ตัวชี้วัดที่ ๔.๑ ก�รปลอดจ�กก�รถูกแทรกแซงหรือข่มขู่คุกค�มเพื่อให้เปลี่ยนคว�มคิด คว�มเชื่อ (UDHR-4.1)
ตัวชี้วัดโครงสร้าง (A/a) ตัวชี้วัดกระบวนการ (B/b) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (C/c) คำาอธิบาย
ตัวชี้วัดหลัก (A) ตัวชี้วัดหลัก (B) ตัวชี้วัดหลัก (C) สิทธิในความคิด ความเชื่อ
๑. การเป็นภาคี ICCPR ๑. มีกลไก องค์กรทางด้านบริหาร ๑. จำานวนข่าว (ครั้ง หรือ คดี) เป็นสิทธิสัมบูรณ์ รัฐไม่อาจ
๒. มีบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ หรือองค์กรตุลาการรับ ที่ปรากฏในรายงานของ แทรกแซง หรือจำากัดได้
กำาหนดห้ามการเลือกปฏิบัติ ข้อร้องเรียนของบุคคลที่ สื่อมวลชน NGOs ว่าบุคคล
ต่อบุคคลอันเนื่องมาจาก ถูกคุกคามหรือเสียหาย หรือกลุ่มบุคคลถูกข่มขู่
ความแตกต่างในความเชื่อหรือ อันเนื่องมาจากการมีความเชื่อ คุกคามอันเนื่องมาจากการ
การถือศาสนา ความคิดเห็น หรือการถือศาสนา เพื่อให้ แสดงความคิดเห็น ความเชื่อ
และมโนธรรมไว้ในรัฐธรรมนูญ ระงับการคุกคามและเยียวยา หรือ การถือศาสนา
(กฎหมายบัญญัติห้าม ความเสียหาย ๒. จำานวนคำาร้องเรียน หรือ
แทรกแซงความเชื่อ ความคิด จำานวนคดีอาญาที่มีการ
และการถือศาสนา) (หลักการ ร้องเรียน หรือฟ้องต่อศาลว่า
ห้ามเลือกปฏิบัติ) มีการละเมิดสิทธิในเสรีภาพ
ในการมีความเชื่อ หรือ
การถือศาสนา
ตัวชี้วัดรอง (a) ตัวชี้วัดรอง (b) ตัวชี้วัดรอง (c)
๓. มีกฎหมายบัญญัติให้การ ๒. มีเนื้อหาเรื่องการมีใจกว้าง ๓. ข้อร้องเรียนเรื่องการถูก
ทำาร้าย การคุกคาม/ทำาร้าย (ขันติธรรม – tolerance) ข่มขู่คุกคามอันเนื่องมาจาก
บุคคล หรือกลุ่มบุคคลที่มี การยอมรับความแตกต่าง การแสดงความคิดเห็น
ความแตกต่างทางความเชื่อ ทางความคิด ความเชื่อ หรือความเชื่อ หรือจาก
หรือการถือศาสนา เป็น และศาสนาในหลักสูตร การถือศาสนา
ความผิดอาญา รวมถึง การศึกษาทุกระดับ
การมีบทบัญญัติทางอาญา ๓. มีกลไกและกระบวนการ
ห้ามการเขียนหรือพูด เฝ้าระวังความขัดแย้งและ
เพื่อให้เกิดความเกลียดชัง ระงับข้อพิพาทที่อาจเกิดจาก
(Hatred Speech) ความเห็น หรือความเชื่อของ
บุคคล รวมถึงการเฝ้าระวัง
การกระทำา พูดหรือเขียน
ที่ทำาให้เกิดความเกลียดชัง