Page 247 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 247

1. ผลการพิจารณาสอบสวนข้อเท็จจริงในเรื่องต่างๆ พร้อมทั้งข้อสังเกตหรือ

                  ข้อเสนอแนะที่เสนอต่อหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือของราชการส่วน

                  ท้องถิ่น

                                 2. ผลการปฏิบัติตามข้อสังเกตหรือข้อเสนอแนะที่หน่วยราชการ หน่วยงานของ
                  รัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วย

                  ราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือของราชการส่วนท้องถิ่นได้ด าเนินการไปแล้ว

                                 3. การไม่ปฏิบัติตามมาตรา 27 ของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐหรือ

                  รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือของข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ

                  หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือของราชการส่วนท้องถิ่น

                                 4. อุปสรรคในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา

                         รายงานประจ าปีตามวรรคหนึ่งให้เปิดเผยให้ประชาชนทราบตามวิธีการที่ผู้ตรวจการ

                  แผ่นดินของรัฐสภาก าหนด

                         ในกรณีที่ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาเห็นสมควรรายงานให้วุฒิสภาและสภา
                  ผู้แทนราษฎรทราบเป็นพิเศษเฉพาะเรื่องเพราะเป็นกรณีรีบด่วนหรือจะเป็นประโยชน์ต่อการ

                  บริหารราชการแผ่นดิน ก็ให้กระท าได้

                         มาตรา 34 การจัดท ารายงานตามมาตรา 30 และมาตรา 33 ให้กระท าเป็นการสรุปโดยมิ

                  ให้ระบุรายละเอียดอันเป็นการเปิดเผยความลับของบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยไม่จ าเป็น

                         มาตรา 35 ผู้ตรวจการแผ่นดินรัฐสภาไม่ต้องรับผิดทั้งทางแพ่งหรือทางอาญาเนื่องจาก

                  การที่ตนได้ปฏิบัติตามอ านาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้

                         มาตรา 36 ผู้ที่ให้ถ้อยค า หรือให้วัตถุ เอกสาร หลักฐาน หรือพยาน หลักฐานอื่นที่
                  เกี่ยวข้องกับเรื่องใดตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้แก่ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา

                  หรือเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเป็นหนังสือจากผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา หรือผู้ที่จัดท าและ

                  เผยแพร่รายงานของผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาตามมาตรา 30 มาตรา 31 และมาตรา 33 ไม่

                  ต้องรับผิดทั้งทางแพ่ง ทางอาญา หรือทางวินัย เนื่องจากการที่ตนเปิดเผยข้อมูล หรือให้วัตถุ

                  เอกสาร หลักฐาน หรือพยาน หรือจัดท าและเผยแพร่ รายงานแล้วแต่กรณี

                         มาตรา 37 ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ ให้ผู้ตรวจการ

                  แผ่นดินของรัฐสภาและเจ้าหน้าที่พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

                         มาตรา 38 ห้ามมิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อความ ข้อเท็จจริง หรือข้อมูลที่ได้มาเนื่องจากการ

                  ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ เว้นแต่ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาจะ
                  มอบหมาย หรือเป็นการกระท าตามหน้าที่ราชการ หรือเพื่อประโยชน์แก่การตรวจสอบหรือ



                                                          - 202 -
   242   243   244   245   246   247   248   249   250   251   252