Page 201 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 201
5.2.4 อ านาจหน้าที่/ขอบเขตความรับผิดชอบ
ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (2555) ได้กล่าวถึงบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 257 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
1. ตรวจสอบและรายงานการกระท าหรือการละเลยการกระท า อันเป็นการละเมิด
สิทธิมนุษยชนหรือไม่เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทย
เป็นภาคี และเสนอมาตรการการแก้ไขที่เหมาะสมต่อบุคคลหรือหน่วยงานที่กระท าหรือละเลยการ
กระท าดังกล่าว เพื่อด าเนินการ ในกรณีที่ปรากฏว่าไม่มีการด าเนินการตามที่เสนอ ให้รายงานต่อ
รัฐสภาเพื่อด าเนินการต่อไป
2. เสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผู้
ั
ร้องเรียนว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดกระทบต่อสิทธิมนุษยชนและมีปญหาเกี่ยวกับความชอบ
ด้วยรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาล
รัฐธรรมนูญ
3. เสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลปกครอง ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผู้
ั
ร้องเรียนว่า กฎ ค าสั่ง หรือการกระท าอื่นใดในทางปกครองกระทบต่อสิทธิมนุษยชนและมีปญหา
เกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ
วิธีพิจารณาคดีปกครอง
้
4. ฟองคดีต่อศาลยุติธรรมแทนผู้เสียหาย เมื่อได้รับการร้องขอจากผู้เสียหายและ
ั
เป็นกรณีที่เห็นสมควรเพื่อแก้ไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนเป็นส่วนรวม ทั้งนี้ ตามที่
กฎหมายบัญญัติ
5. เสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ ต่อรัฐสภา
หรือคณะรัฐมนตรีเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
6. ส่งเสริมการศึกษา การวิจัย และการเผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน
7. ส่งเสริมความร่วมมือและการประสานงานระหว่างหน่วยราชการ องค์การ
เอกชนและองค์การอื่นในด้านสิทธิมนุษยชน
8. จัดท ารายงานประจ าปีเพื่อประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
ภายในประเทศและเสนอต่อสภา
9. อ านาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
- 156 -