Page 202 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 202
ในการปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต้องค านึงถึงผลประโยชน์
ส่วนรวมของชาติและประชาชนประกอบด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีอ านาจเรียก
เอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องจากบุคคลใดหรือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยค า รวมทั้งมีอ านาจอื่น
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ และรัฐธรรมนูญ 2550 ก าหนดให้
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน มีอ านาจหน้าที่เพิ่มเติมจากรัฐธรรมนูญ 2540 ใน 3 เรื่อง คือ
1. การเสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มี ผู้
ั
ร้องเรียนว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดกระทบต่อสิทธิมนุษยชนและมีปญหาเกี่ยวกับความชอบ
ด้วย รัฐธรรมนูญส าหรับบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ กสม. จะเสนอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาตาม
วรรคหนึ่งนั้น หมายถึงกฎหมายในระดับพระราชบัญญัติซึ่งตราขึ้นโดยองค์กรที่ใช้อ านาจนิติ
บัญญัติหรือรัฐสภา หรือกฎหมายที่ใช้บังคับดังเช่นพระราชบัญญัติ เช่น พระราชก าหนดที่ได้รับ
การพิจารณาอนุมัติจากรัฐสภาแล้ว เป็นต้น
2. การเสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลปกครอง ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มี ผู้
ั
ร้องเรียนว่ากฎ ค าสั่ง หรือการกระท าอื่นใดในทางปกครองกระทบต่อสิทธิมนุษยชนและมีปญหา
ที่เกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย
้
3. การฟองคดีต่อศาลยุติธรรมแทนผู้เสียหาย เมื่อได้รับการร้องขอจากผู้เสียหายและ เป็น
ั
กรณีที่เห็นสมควร เพื่อแก้ไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนเป็นส่วนรวม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 จึงเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรก ที่
บัญญัติให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีอ านาจหน้าที่ในการเสนอเรื่องพร้อมความเห็น
้
ต่อศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครอง รวมทั้งการฟองคดีต่อศาลยุติธรรมแทนผู้เสียหายได้โดยให้
เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง และที่กฎหมายบัญญัติตามล าดับ
- 157 -