Page 6 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 6
2. สรุปข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
คณะผู้วิจัยขอเสนอแนวทางเพื่อการพัฒนา ปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน สรุปดังตารางต่อไปนี้
2.1 ด้านโครงสร้างการท างาน
โครงสร้างการท างาน
ปัญหา แนวทางแก้ไข
1. ใช้ประโยชน์จากเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรต่างๆ โดยเริ่มต้นจากการแบ่งประเภท เพื่อประเมินระดับศักยภาพ
รูปแบบความร่วมมือ รวมถึงความสามารถของ กสม. ในการสนับสนุนการท างานของเครือข่ายต่างๆ เช่นบุคลากร
ความรู้ งบประมาณ ฯลฯ เพื่อน ามาสู่การก าหนดรูปแบบกิจกรรมความร่วมมือให้มีความชัดเจน เป็นมาตรฐานเดียวกัน
1. ศูนย์ปฏิบัติการ เครือข่ายท างานในพื้นที่ ในองค์กรแต่ละประเภท
2. ควรเริ่มจากการพัฒนาระบบการตรวจสอบ ในรูปแบบที่มีการกระจายอ านาจ ภายในองค์กรก่อน หลังจากมีความชัดเจน
สามารถลดทอนข้อจ ากัดส าคัญๆ และงานตรวจสอบมีคุณภาพที่เหมาะสม จึงพัฒนาไปสู่การขยายโครงสร้างส านักงาน
ไปสู่พื้นที่หลักอื่นๆ ต่อไป ในลักษณะสาขาน าร่อง
1. กระจายอ านาจการท างานในส่วนของการกลั่นกรองเรื่องร้องเรียนให้ส านักงานเป็นผู้รับผิดชอบ
2. ตัดขั้นตอนการกลั่นกรองรายงานผลการตรวจสอบ โดยอนุกรรมการกลั่นกรองออก
3. ส านักงานเป็นผู้บริหารจัดการด้านทีมตรวจสอบ เพื่อสนับสนุนงานตรวจสอบของคณะอนุกรรมการ แต่ละด้านภายใต้
การก ากับดูแลของผู้อ านวยการกลุ่ม / ผู้ที่มีประสบการณ์งานตรวจสอบ
4. พัฒนาระบบฐานข้อมูลการร้องเรียนชัดเจน เพื่อเป็นพื้นฐานในการวิเคราะห์ก าหนดโครงสร้างบุคลากรที่มีคุณภาพ
2. ระบบการบริหารจัดการ
ั
ทั้งด้านจ านวนและคุณสมบัติ เพื่อสามารถรองรับการท างานได้ทั้งปจจุบันและอนาคต
5. พัฒนาคู่มือมาตรฐานการท างาน (SOP) เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนทั้งในส่วนของเจ้าหน้าที่และอนุกรรมการ
ส าหรับการท างานในขั้นตอนต่างๆ
6. รวบรวม พัฒนาองค์ความรู้ จัดเก็บฐานข้อมูลผลการตรวจสอบที่เป็นระบบ คัดเลือกเป็นต้นแบบเพื่อการศึกษา
ั
ทั้งกรณีปญหา แนวทางแก้ไข รวมถึงการตรวจสอบที่มีคุณภาพ
- จ -