Page 28 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 28

19



                         2.2.2 ทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ


                         ประเทศไทยเริ่มมีการจัดทําแผนพัฒนาประเทศที่เรียกวา “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ”
                  โดยเริ่มตนจัดทําฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504 - 2509) จนกระทั่งปจจุบันเปนฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2560) เพื่อใชเปน
                  กรอบในการพัฒนาประเทศ โดยเริ่มจากการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานสาธารณูปโภคตางๆ โดยมีองคกร

                  ระหวางประเทศ คือ ธนาคารระหวางประเทศเพื่อการบูรณะและพัฒนาการ หรือ ธนาคารโลก (World Bank) ให
                  การสนับสนุนทางดานการเงินโดยจะพิจารณาจากภาพเศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้น ประเทศไทยจึงไดมีการจัดตั้ง
                                                                                                         12
                  หนวยงานกลางขึ้นเพื่อทําหนาที่วางแผนการพัฒนาประเทศในชื่อที่เรียกวา สภาพัฒนาการเศรษฐกิจแหงชาติ11
                         แนวคิดในการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน เริ่มมีการกลาวถึงในชวงทายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
                  แหงชาติ ฉบับที่ 6  (พ.ศ. 2530 - 2536) เนื่องจากระยะเวลาดังกลาวเปนชวงเวลาที่เศรษฐกิจขยายตัวสูง และเริ่ม

                  เขาสูระบบเศรษฐกิจนานาชาติมากขึ้น แตการขยายตัวดังกลาวไมสอดรับการบริการพื้นฐานของรัฐซึ่งไมเพียงพอตอ
                  ความตองการและประสบปญหาเรื่องการเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และเมื่อ พ.ศ.  2535
                  ไดมีการนําเรื่องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย คุณภาพชีวิต สิ่งแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อใหเกิดการ
                  พัฒนาในลักษณะที่มีคุณภาพและยั่งยืนบรรจุไวในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535 - 2539) อันเปนผลตอเนื่อง

                  จากการพัฒนาประเทศที่ไมสมดุลระหวางเศรษฐกิจและสังคมที่ผานมา ซึ่งสงผลตอความไมสมดุลระหวางรายได
                  ของคนชนบทและคนเมือง  ดังนั้น ตั้งแตแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540 - 2544) เปนตนมา ไดเนนการพัฒนา
                  ประเทศในเรื่องการตระหนักถึงคุณคาของ “คน”  เปนศูนยกลางการพัฒนาประเทศ และขยายไปสูบริบทของการ

                  พัฒนาทางเศรษฐกิจเรื่องการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางมีเสถียรภาพ มั่นคง และสมดุล เสริมสรางโอกาสการ
                  พัฒนาศักยภาพของคนในการมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนา และไดรับผลจากการพัฒนาที่เปนธรรม รวมถึงการ
                  กําหนดนโยบายประเทศในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) และแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 -
                  2554) ในการแกปญหาความยากจนและเพิ่มศักยภาพและโอกาสของคนไทยในการพึ่งพาตนเอง โดยไดรับโอกาสใน
                  การศึกษาและบริการทางสังคมอยางเปนธรรมและทั่วถึง สรางอาชีพ เพิ่มรายได ยกระดับคุณภาพชีวิตของ

                  ประชาชนใหชุมชน

                         จนกระทั่งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับปจจุบัน ไดถูกจัดทําขึ้นในชวงเวลาที่
                  ประเทศไทยตองเผชิญกับสถานการณทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม ที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วและ
                  สงผลกระทบอยางรุนแรงกวาชวงใดๆ ที่ผานมา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 นี้ จึงมุงเนน
                  การปรับสมดุลของประเทศ โดยเนนให "ประเทศมีความมั่นคงเปนธรรมและมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง"

                  มีการกําหนดทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในมิติการพัฒนาดานสังคมและเศรษฐกิจ ดังนี้







                  12
                      สภาพัฒนาการเศรษฐกิจแหงชาติ ตั้งขึ้นในป ในป พ.ศ. 2493 ทําหนาที่หลักในการศึกษา ติดตาม วิเคราะห วิจัย
                  สภาวะเศรษฐกิจและจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และในป พ.ศ. 2515 ไดรวมเอาการพัฒนาสังคมเขา
                  มาเปลี่ยนเปนสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33