Page 197 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 197

188

                  ประกอบธุรกิจและเพื่อใหกรมพัฒนาธุรกิจการคา หรือหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของดําเนินการตามนโยบาย
                  สนับสนุนสงเสริม และพัฒนาธุรกิจคาปลีกหรือคาสงรายยอยดั้งเดิมที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติแลว

                         (๔) รับเรื่องที่มีการรองเรียนวาไดรับความเดือดรอนหรือเสียหายเนื่องจากการกระทําอันมีผล
                  กระทบกระเทือนตอการประกอบธุรกิจคาปลีกหรือคาสง
                         (๕) พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณคําสั่งของคณะกรรมการสวนจังหวัดวาดวยการประกอบธุรกิจคาปลีกหรือ

                  คาสง
                         (๖) เชิญบุคคลหนึ่งบุคคลใดมาใหคําอธิบาย คําแนะนํา หรือความเห็น
                         (๗) มีคําสั่งใหบุคคลที่เกี่ยวของมาใหขอเท็จจริงหรือทําคําชี้แจงเปนหนังสือ
                         (๘) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ

                         มาตรา ๑๓  ใหจังหวัดหนึ่งนอกจากกรุงเทพมหานครใหมีคณะกรรมการสวนจังหวัดวาดวยการ
                  ประกอบธุรกิจคาปลีกหรือคาสง เรียกโดยยอวา “กจค.” ประกอบดวย
                         (๑) ผูวาราชการจังหวัด เปนประธานกรรมการ
                         (๒) กรรมการจากสวนราชการจํานวนสี่คน ไดแก อัยการจังหวัด โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด พาณิชย

                  จังหวัด และนายกองคการบริหารสวนจังหวัด
                         (๓) กรรมการผูทรงคุณวุฒิ จํานวนสองคน ซึ่งผูวาราชการจังหวัดแตงตั้ง จากบุคคลผูมีความรูความ
                  เชี่ยวชาญ และประสบการณดานกฎหมาย หรือดานการคาปลีกหรือคาสงหรือดานเศรษฐศาสตร
                         (๔) กรรมการผูแทนสถาบันหรือองคกรเอกชน จํานวนหเาคน ซึ่งผูวาราชการจังหวัดแตงตั้งจากผูแทน

                  หอการคาจังหวัด จํานวนหนึ่งคน ผูแทนสมาคมที่มีวัตถุประสงคในการคุมครองผูบริโภค จํานวนสองคน และ
                  ผูแทนสมาคมการคาที่มีวัตถุประสงคในการสงเสริมการประกอบธุรกิจคาปลีกหรือคาสง จํานวนสองคน ให
                  หัวหนาสํานักงานการคาภายในจังหวัด เปนกรรมการและเลขานุการ
                         มาตรา ๑๔ ใหกจค. มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

                         (๑) เสนอแนะ ใหความเห็น ใหขอเท็จจริงตอ กกค. ในการกําหนดหลักเกณฑวิธีการและเงื่อนไขในการ
                  ประกอบธุรกิจคาปลีกหรือคาสงประเภทใดประเภทหนึ่ง
                         (๒) พิจารณาออกใบอนุญาตการประกอบธุรกิจ การตั้งสาขา การโอนกิจการการออกใบแทนใบอนุญาต
                  ตามมาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ มาตรา ๓๐ และมาตรา ๓๓ ทั้งนี้ กจค. จะตองพิจารณาใหแลวเสร็จภายในสามสิบ

                  วันนับแตวันที่ไดรับคําขอ และหลักฐานครบถวนในกรณีมีความจําเปนที่ไมอาจจะพิจารณาใหแลวเสร็จภายใน
                  กําหนดเวลาดังกลาว กจค. จะขยายเวลาออกไปไดอีกไมเกินสองครั้ง ครั้งละไมเกินสามสิบวัน แตผูอนุญาตตอง
                  มีหนังสือแจงเหตุผลความจําเปนใหผูขออนุญาตทราบกอนครบกําหนดเวลาดังกลาว

                         (๓) รับเรื่องที่มีการรองเรียนวาไดรับความเดือดรอนหรือเสียหายเนื่องจากการกระทําอันมีผล
                  กระทบกระเทือนตอการประกอบธุรกิจคาปลีกหรือคาสง
                         (๔) เชิญบุคคลหนึ่งบุคคลใด มาใหขอเท็จจริง คําอธิบาย คําแนะนํา หรือความเห็น
                         (๕) มีคําสั่งใหบุคคลที่เกี่ยวของมาใหขอเท็จจริง หรือทําคําชี้แจงเปนหนังสือ
                         (๖) ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ประกาศ หรือคําสั่งของ กกค. และปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใดตามที่

                  กกค. มอบหมาย
                         (๗) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของ กจค. การใชอํานาจตามวรรคหนึ่ง
                  ของ กจค. จะขัดหรือแยงกับกรณีที่ กกค. กําหนดไมได
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202