Page 202 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 202

193

                  วัตถุประสงคดังกลาวแลวแตกรณี เสนอชื่อตอคณะกรรมการกลางวาดวยการประกอบธุรกิจคาปลีกหรือคาสงเพื่อ
                  พิจารณาแตงตั้งใหนําความในมาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๑ มาใชบังคับกับกรรมการ

                  ผูทรงคุณวุฒิและกรรมการผูแทนสมาคมการคาที่มีวัตถุประสงคในการสงเสริมการประกอบธุรกิจคาปลีกคาสงราย
                  ยอยโดยอนุโลม
                         มาตรา ๓๙ กองทุนนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเปนทุนใชจายในการสงเสริมและพัฒนาการประกอบธุรกิจคา

                  ปลีกหรือคาสงในดานเงินทุน ความรู และเทคโนโลยีในการดําเนินธุรกิจ รวมถึงดานอื่นที่เกี่ยวของ
                         มาตรา ๔๐ ใหคณะกรรมการบริหารกองทุน มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
                         (๑) กําหนดนโยบายแผนการเงินและงบประมาณประจําปของกองทุน
                         (๒) พิจารณาอนุมัติแผนงาน งาน โครงการ หรือกิจกรรมและงบประมาณรายจายของกองทุนเกี่ยวกับ

                  การสงเสริมและพัฒนาธุรกิจคาปลีกหรือคาสงเพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคของกองทุน
                         (๓) พิจารณาอนุมัติการใชจายเงินตามวัตถุประสงคของกองทุน
                         (๔) กําหนดระเบียบเกี่ยวกับหลักเกณฑการบริหารเงินกองทุน การใชจายเงินกองทุนโดยความเห็นชอบ
                  ของกระทรวงการคลัง

                         (๕) กําหนดระเบียบเกี่ยวกับหลักเกณฑและวิธีการรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงินกองทุน
                         (๖) ควบคุมและติดตามผลการดําเนินงานตามแผนงาน งาน โครงการหรือกิจกรรมและงบประมาณ
                  รายจายของกองทุน รวมทั้งประเมินผลการบริหารกองทุน
                         (๗) รายงานงบการเงินและการบริหารกองทุนตอคณะกรรมการกลางวาดวยการประกอบธุรกิจคาปลีก

                  หรือคาสงทุกสิ้นปงบประมาณ
                         (๘) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวกับการสงเสริมและพัฒนาธุรกิจการคาปลีกคาสงตามที่คณะกรรมการกลางวา
                  ดวยการประกอบธุรกิจคาปลีกหรือคาสงมอบหมาย


                                                            หมวด ๕
                                                         บทกําหนดโทษ

                         มาตรา ๔๑  ผูใดไมปฏิบัติตามหนังสือเรียกของพนักงานเจาหนาที่ หรือไมยอมใหขอเท็จจริง หรือไมสง

                  เอกสารหรือหลักฐานตามมาตรา ๑๙(๑) ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกินหาพันบาท หรือทั้ง
                  จําทั้งปรับ
                         มาตรา ๔๒  ผูใดขัดขวางการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรา ๑๙(๒) ตองระวางโทษ

                  จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
                         มาตรา ๔๓  ผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งเตือนของพนักงานเจาหนาที่ตาม  มาตรา ๑๙(๓) ตองระวางโทษ
                  ปรับไมเกินสามหมื่นบาท
                         มาตรา ๔๔  ผูใดไมอํานวยความสะดวกแกพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรา ๒๐ ตองระวางโทษจําคุกไม
                  เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

                         มาตรา ๔๕  ผูใดประกอบธุรกิจคาปลีกหรือคาสงตามมาตรา ๒๓ โดยไมไดรับใบอนุญาตหรือตั้งสาขา
                  โดยไมไดรับใบอนุญาตตามมาตรา ๒๗ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งปหรือปรับตั้งแตหนึ่งลานบาทถึงสามลาน
                  บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และปรับอีกไมเกินวันละสองแสนบาทตลอดเวลาที่ยังฝาฝนอยู
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207