Page 98 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยสาเหตุการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมของเจ้าหน้าที่ตำรวจ
P. 98
87
วิธีที่ 2 ไม่สืบสวนให้ชัดเจนก่อนให้ข่าวสื่อมวลชน ตามรายงานการตรวจสอบที่ 25/2547
วิธีที่ 3 การโฆษณาคดีที่เลิกกันแล้วโดยเจตนา ให้เสื่อมเสียต่อชื่อเสียง
ตามรายงานการตรวจสอบที่ 18/2548
4.2 วิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก
ในการสัมภาษณ์เชิงลึกคณะผู้วิจัยได้สัมภาษณ์ผู้บริหารส านักงานต ารวจแห่งชาติ
ผู้พิพากษา พนักงานอัยการ ทนายความ ผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษา องค์อิสระ องค์กรพัฒนา
เอกชน และ ป ระชาชนผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนและผู้เกี่ยวข้องจากเรื่องร้องเรียนการละเมิดสิทธิ
มนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมของเจ้าหน้าที่ต ารวจที่มีการร้องเรียนคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติ และมีการจัดท าเรื่องรายงานการละเมิดสิทธิมนุษยชน แล้วเสร็จระหว่างปีงบประมาณ
2545 – 2552 จ านวน 10 เรื่อง ค าถามประกอบด้วย เรื่องที่ละเมิด พฤติการณ์ที่ละเมิด และสาเหตุ
การละเมิด คณะผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลจากการตอบค าถามในการสัมภาษณ์น าข้อมูลทั้งหมด
มาสรุปเป็นตาราง (รายละเอียดตามตารางที่ 5)
ตารางที่ 5 วิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก
ล าดับ เรื่องที่ละเมิด ล าดับ วิธีการละเมิด สาเหตุการละเมิด
ย่อย
1 การจับ (จับคนผิด) 1 ชื่อผู้ต้องหาพ้องกัน และ ชื่อเหมือนกัน แต่ผู้จับไม่ใช้ความละเอียด
ควบคุมนาน 150 วัน รอบคอบให้ดี
การจับ (ท าร้าย 1 บีบไข่ เตะ ใช้ไม้ตี ไฟฟ้า 1. มุ่งเน้น มุ่งมั่น ลุแก่อ านาจ เพื่อให้สังคมมี
ร่างกาย) ช็อต ถุงคลุมหัว ซ้อมให้รับ ความสงบ
สารภาพหรือซ้อมเป็นนิสัย 2. ท าตามนโยบายผู้บังคับบัญชา เจ็บแค้น
หรือเป็นประจ า ไม่สนใจจะ แทนผู้เสียหายมากเกินไป
รับสารภาพหรือปฏิเสธก็ตาม 3. ประชาชนคาดหวังในการปฏิบัติหน้าของ
ต ารวจมากเกินไป
4. สื่อมวลชนเสนอข่าวเร่งรัด ก าหนดวันเป็น
เป้าหมายให้เกิดความหวัง จนเจ้าหน้าขาด
ความรอบคอบในการปฏิบัติตามกฎหมาย ท า
ตามกระแสเป็นเหตุให้จับผิดตัว