Page 96 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยสาเหตุการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมของเจ้าหน้าที่ตำรวจ
P. 96
85
วิธีที่ 4 คือ การไม่รวบรวมพยานหลักฐานฝ่ายผู้ต้องหาเพื่อพิสูจน์ความบริสุทธิ์
นั้นตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 131 ตามรายงานการตรวจสอบที่ 40/2549
วิธีที่ 5 คือ การไม่สอบสวนรวบรวบพยานหลักฐานเพื่อพิสูจน์ความผิดด้วยความ
รวดเร็วตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 134 วรรค 3 ตามรายงานการตรวจสอบที่
25/2547 และ 456/2550
วิธีที่ 6 คือ การตรวจพิสูจน์น้ ามันล่าช้า ท าให้การสอบสวนไม่เสร็จสิ้น โดยเร็ว
ตามรายงานการตรวจสอบที่ 530/2550
วิธีที่ 7 คือ การที่เจ้าหน้าที่ต ารวจไม่รีบน าปัสสาวะสีม่วงของกลางส่งให้กับ
พนักงานสอบสวนในโอกาสแรกทันที ตามรายงานการตรวจสอบที่ 200/2551
วิธีที่ 8 คือ การที่พนักงานสอบสวนให้ผู้ชี้ตัวเห็นผู้ถูกชี้ตัวก่อนการชี้ตัว
ตามรายงานการตรวจสอบที่ 23/2547
วิธีที่ 9 คือ การที่เจ้าหน้าที่ต ารวจพูดจูงใจว่าจะฟ้องในวันรุ่งขึ้นหากผู้ต้องหาให้
การรับสารภาพ ตามรายงานการตรวจสอบที่ 5/2547
วิธีที่ 10 คือ การที่พนักงานสอบสวนไม่รีบด าเนินการสอบสวนด้วยความรวดเร็ว
แล้วย้ายไปอยู่ที่อื่น เมื่อผู้ถูกละเมิดไปร้องเรียน อีกครั้ง จึงแต่งตั้ง พนักงานสอบสวนใหม่ท าการ
สอบสวนเสร็จสิ้น ตามรายงานการตรวจสอบที่ 122/2549
วิธีที่ 11 คือ การที่พนักงานสอบสวน ไม่สอบสวนคดีท าร้ายร่างกายด้วยความ
รวดเร็วเป็นเหตุให้คดีขาดอายุความ ตามรายงานการตรวจสอบที่ 237/2551
วิธีที่ 12 คือ การที่พนักงานสอบสวน ไม่รีบสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานคดี
ท าร้ายร่างกายจนกระทั่งผู้ต้องหาหลบหนี ตามรายงานการตรวจสอบที่ 438/2551
วิธีที่ 13 คือ การพิมพ์มือผู้ต้องหาในห้องควบคุม ตามรายงานการตรวจสอบที่ 19/2546
11. ประเภทการชันสูตรพลิกศพ มีวิธีการละเมิด 1 วิธี ได้แก่
การที่พนักงานสอบสวนไม่น าแพทย์ มาท าการชันสูตรพลิกศพในที่เกิดเหตุและ
ไม่เร่งรัดท าการสืบสวนสอบสวนหาตัวคนร้าย ตามรายงานการตรวจสอบที่ 397/2550
12. ประเภทฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา มีวิธีการละเมิด 2 วิธี ได้แก่
วิธีที่ 1 เจ้าหน้าที่ต ารวจกระท าโดยเจตนา เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
ตามรายงานการตรวจสอบที่ 28/2547 และ 99/2549
วิธีที่ 2 การยิงนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศถึงแก่ความตายเนื่องจากเหตุทะเลาะ
วิวาท ตามรายงานการตรวจสอบที่ 77/2551