Page 101 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 101
ขณะเดียวกันเจ้ำหน้ำที่บำงคนที่พอจะมีควำมรู้เรื่องสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ กล่ำวว่ำเยำวชน
ตั้งครรภ์ถูกละเมิดสิทธิและเข้ำไม่ถึงสิทธิ มีเป็นจ ำนวนมำก โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง สิทธิในกำรได้รับกำรศึกษำ
และสิทธิในกำรตัดสินใจที่จะมีบุตรเมื่อใดกี่คน
“ก็มองว่าเรื่องท้องในวัยรุ่น ถ้าเรามองในมุมที่เราพูดมันอาจจะใหญ่โต ในมุมสิทธิของคนคนนึงที่
ควรจะมีโอกาสได้รับสิทธิประโยชน์ทางสังคม ถ้ามองว่าเป็นเด็กเป็นเยาวชน ว่าเด็กหรือเยาวชน
ควรได้รับสิทธิหรือว่าโอกาสเข้ามาในชีวิตบ้างคนที่ท้องในวัยรุ่นมันเหมือนกับความคิดความเชื่อ
ทางสังคมมันท าให้เค้าปิดชีวิตเค้าในการที่จะได้รับอะไรที่มันจะสร้างคุณภาพชีวิตของเค้าทั้งหมด
เลย แล้วมันก็ไปปิดให้กับเด็กที่เป็นลูกของเค้าอีก พ่อแม่เค้าก็ไม่ได้ไง”
และโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรท ำแท้ง ซึ่งในสำยตำของเจ้ำหน้ำที่แล้ว เป็นสิทธิของเยำวชนหญิง
ตั้งครรภ์โดยตรง
“คือเรามองว่าจริงๆ แล้ว คือถ้ามองในแง่ท้องเป็นของผู้หญิง ผู้หญิงควรจะมีอ านาจในการที่จะ
เลือกมากที่สุดแต่ถ้ามองสถานการณ์ความเป็นจริงในชีวิตตอนนี้ ถ้าเกิดเป็นวัยรุ่นมันมากกว่าพ่อ
แม่แล้วอะ คือโอเค พ่อแม่ยอมรับให้ท้องต่อได้แต่พอออกมาไปในโรงเรียนหรือว่าอะไรอย่างนี้บางที
ระบบในสังคมมันไม่เอื้อมันก็มีหลายเงื่อนไขหลายปัจจัยที่ท าให้ใครหลายๆ คนตัดสินใจได้ไม่
เหมือนกัน เรามองว่าอย่างนี้ คือเรามองว่าท้องไม่ท้องเป็นการตัดสินใจของผู้หญิงแต่การตัดสินใจ
ของผู้หญิง มันก็มีเงื่อนไขหลายอย่างที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับความเป็นไปได้ของการที่จะเลือกที่จะยุติ
หรือว่าจะเก็บไว้ โดยเฉพาะอย่างวัยรุ่นมันมีเรื่องเป้ าหมายในชีวิตเรื่องของการที่ต้องรับผิดชอบ
ตัวเองได้หรือไม่ได้ ความรู้สึกที่มีต่อพ่อแม่ความรู้สึกผิดกับตัวเองที่มีกับพ่อแม่หรือว่าอะไรหลายๆ
อย่างมันผนวกเข้ามาแล้วการมองชีวิตตัวเองมองชีวิตของทารกที่จะต้องเติบโตถ้าเกิดอยู่ต่อไป
อะไรอย่างนี้ แล้วมัน..สิ่งที่เกิดขึ้นกับคนมันไปเชื่อมโยงกับหลายๆ เรื่องในสังคม ถ้าไม่ได้มองว่า
เป็นเรื่องพฤติกรรมคนท้องคนนึงกับสิ่งที่จะเกิดมาหนึ่งชีวิตมันมีเรื่องของการพัฒนาคุณภาพชีวิต
แล้วถ้าเป็นท้องของวัยรุ่น วัยรุ่นก็ก าลังอยู่ในช่วงที่ตัวเองก าลังเปลี่ยนฐานจากวัยเด็กสู่วัยผู้ใหญ่
ซึ่งต้นทุนชีวิตเราก็มองว่ามันก็ต ่า...”
จำกกำรสัมภำษณ์สะท้อนให้เห็นถึงปัญหำเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ในมิติสิทธิมนุษยชนว่ำ โครงสร้ำง
และสภำพสังคมที่ก ำหนดให้เยำวชนอยู่ห่ำงจำกควำมรู้เรื่องเพศ กำรมีเพศสัมพันธุ์ที่ปลอดภัย ท ำให้
เยำวชน “พลำด” และตั้งครรภ์ได้ และสังคมก็ไม่ได้ยอมรับให้เยำวชนที่ “พลำด” ได้แก้ไขปัญหำ แต่ผลักให้
เยำวชนกลุ่มนี้อยู่กับปัญหำ และผลักให้องค์กรพัฒนำเอกชนรับผิดชอบแทนซึ่งถือว่ำเป็นกำรแก้ปัญหำที่
ปลำยเหตุ ซึ่งเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์มีจ ำนวนมำกขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งองค์กรที่รองรับนั้นนอกจำกมีจ ำนวนไม่
เพียงพอแล้ว เจ้ำหน้ำที่บำงคนยังขำดควำมรู้เรื่องสิทธิต่ำงๆ กำรท ำงำนและขับเคลื่อนเพื่อสิทธิอนำมัย
เจริญพันธุ์ในเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ของเจ้ำหน้ำที่จึงเต็มไปด้วยควำมยำกล ำบำก และในแต่ละองค์กรไม่ได้
๑๐๐