Page 104 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 104
มนุษยชน สิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์น้อยกว่ำเยำวชนที่มีชุดประสบกำรณ์กำรตั้งครรภ์ ที่ต้องติดต่อกับ
เจ้ำหน้ำที่สำธำรณสุข เจ้ำหน้ำที่พัฒนำองค์กรเอกชน โรงเรียนทำงเลือกซึ่งมีควำมหลำกหลำยมำกกว่ำ
นอกจำกนี้ เมื่อเปรียบเทียบระหว่ำงเยำวชนชำยที่เป็นนักกิจกรรมของโรงเรียนและเป็นผู้ช่วยครูใน
กิจกรรมมีกำรยอมรับเรื่องเพศสัมพันธ์ของเยำวชนน้อยกว่ำเยำวชนกลุ่มอื่นๆ และยังคงมีมำยำคติเรื่องกำร
รักนวลสงวนตัว กำรมีเพศสัมพันธ์ในสถำบันครอบครับกำรแต่งงำนเท่ำนั้น ซึ่งถือว่ำมำยำคติดังกล่ำวเป็น
อีกหนึ่งปัจจัยส ำคัญในโครงสร้ำงสังคมที่ละเมิดสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์
ทัศนคติของเยาวชนหญิง
จำกกำรสัมภำษณ์เยำวชนหญิง สะท้อนให้เห็นถึงกำรสื่อสำรและกำรเลี้ยงดูในครอบครัวที่หำก
ผู้ปกครองเลี้ยงดูเยำวชนโดยวำงสถำนะเสมือนเพื่อน พูดคุยรับฟังเหตุผล ไม่ชี้น ำหรือใช้อ ำนำจเยำวชนก็จะ
สำมำรถที่จะบอกเล่ำทุกสิ่งที่เกิดขึ้นให้กับผู้ปกครองได้ด้วยควำมรู้สึกปลอดภัย เพรำะเชื่อมั่นว่ำจะเข้ำใจ
แต่ส่วนใหญ่แล้ว ผู้ปกครองยังขำดกำรรับรู้สิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐำน ดังนั้น เมื่อเยำวชนหญิงเกิดกำร
ตั้งครรภ์ไม่พร้อมจึงรู้สึกไม่ปลอดภัยที่จะบอกเล่ำเรื่องรำวที่เกิดขึ้นได้ แม้ว่ำจะเป็นคนส ำคัญที่ใกล้ชิดมำก
ที่สุด แต่กำรมีเพศสัมพันธ์และโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรตั้งครรภ์ เป็นสิ่งที่เยำวชนเลือกที่จะบอกหรือปรึกษำ
เป็นกลุ่มบุคคลสุดท้ำย
“เหมือนกับว่า สมมติถ้าเราเริ่มรู้ตัวเราก็ไม่กล้าพูดกับแม่เรา เพราะเรากลัวแม่เราจะเสียใจ เพราะ
แม่เราเลี้ยงเราอยู่คนเดียว เราก็ไม่กล้าพูดกับเค้าเรากลัวเค้าเสียใจ ถ้าป้ าเราถามเราก็ได้แค่ระบาย
กับป้ าเรา เค้าถามเรา เราก็บอกเค้าหมด หนูไปยังงี้ๆๆ ...... เค้าเป็นผู้ใหญ่แล้ว”
เช่นเดียวกับเยำวชนหญิงอีกคนหนึ่ง ที่เต็มไปด้วยควำมหวำดกลัว ไม่สบำยใจและปลอดภัยที่จะ
ปรึกษำ ขอควำมรู้เรื่องอนำมัยเจริญพันธุ์เมื่อตั้งครรภ์
“ตอนแรกก็คิดอย่างงั้นเหมือนกัน แต่พอบอกไป เหมือนกับมันตรงข้าม คุณแม่เค้าไม่ว่าไม่อะไร
เลยน่ะ เค้าบอกท าไมถึงไม่บอกตั้งแต่แรก”
ทั้งนี้จำกกำรสัมภำษณ์พบว่ำ เนื่องจำกเยำวชนหญิงรู้สึกว่ำตนเองต้องรับผิดชอบต่อสิ่งที่ท ำให้
ผู้ปกครองเสียใจ ท ำให้ไม่กล้ำรักษำสิทธิ ออกควำมคิดเห็นหรือตัดสินใจต่อเรื่องที่ตนเองควรมีส่วนร่วมใน
กำรตัดสินใจว่ำจะยุติหรือตั้งครรภ์ต่อ ซึ่งเป็นเรื่องที่พ่อแม่เองก็ละเมิดสิทธิของลูกโดยควำมหวังดีและคิดว่ำ
กำรตัดสินใจของตนเองนั้นถูกต้องและเหมำะสมแล้ว จึงดูเหมือนว่ำกำรแก้ปัญหำกำรตั้งครรภ์ของเยำวชน
ภำยในครอบครัวเป็นอีกกำรละเมิดสิทธิอำมัยเจริญพันธุ์ที่เยำวชนหญิงส่วนใหญ่ต้องเผชิญ ซึ่งสะท้อนจำก
กำรสนทนำระหว่ำงนักวิจัยกับเยำวชนหญิงที่ผู้ปกครองเป็นผู้ตัดสินใจแทนในเรื่องกำรตั้งครรภ์ทั้งกำรด ำรง
ครรภ์และยุติกำรตั้งครรภ์
๑๐๓