Page 92 - พระมหากษัตริย์กับงานสิทธิมนุษยชน
P. 92

การพัฒนาทรัพยากรด้านการเกษตร



                      พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเน้นเรื่องสิทธิการทำากินเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
               ที่ผสมผสานความต้องการของเกษตรกรให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม โดยความร่วมมือจากหน่วยงานของรัฐ

               เมื่อพุทธศักราช ๒๕๒๓ เกษตรกรภาคกลางได้เพาะปลูกแบบผสมผสานในไร่นาถึงร้อยละ ๕๑ (ประมาณ
               ๓,๐๐๐,๐๐๐ ไร่) พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้นำาพระราชดำาริมาปฏิบัติจริงจนสามารถพัฒนาให้เป็นทฤษฎี
               ของการจัดการที่ดินและแหล่งนำ้าอย่างถูกต้อง คือ ทฤษฎีใหม่


                      ทฤษฎีใหม่นี้มีจุดประสงค์หลักคือให้เกษตรกรพึ่งตนเองได้และมีความเป็นอยู่อย่างพอเพียง
               มากขึ้น อันเป็นผลทำาให้เกิดความพอเพียงในตัวเอง หลักของทฤษฎีใหม่นี้มุ่งที่จะแก้ปัญหาการ

               ขาดแคลนนำ้า การขุดสระนำ้าจึงเป็นวิธีการมาตรฐาน สระนำ้าจึงต้องเก็บกักนำ้าให้มากที่สุดและมีแหล่งนำ้า
               ที่ส่งนำ้ามาเติมในสระได้ โดยคำานึงถึงความเหมาะสมกับสภาพของดินกับสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น

               กล่าวคือ ดินที่ต้องพึ่งนำ้าฝนอย่างเดียวต้องขุดสระลึกมากเพื่อป้องกันนำ้าระเหย ส่วนดินที่รับนำ้า
               จากชลประทานก็ขุดสระตามความเหมาะสม เพื่อให้สระที่ขุดมีนำ้าปริมาณมากพอสำาหรับการเพาะปลูก
               ได้ตลอดปี ดังพระราชดำารัส ความว่า


              92     พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์ กั บ ง า น สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช น
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97