Page 155 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 155

4)     เนื่องจากการประกอบกิจการดูดทรายในจังหวัดใดจังหวัดหนึ่ง  อาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
                   และชุมชนของจังหวัดอื่น จ าเป็นที่ในการพิจารณาอนุญาตให้ประกอบกิจการ สมควรได้รับการพิจารณาอนุญาตจาก
                   คณะกรรมการร่วมจากจังหวัดที่เกี่ยวข้องด้วย

                          5)     การประกอบกิจการดูดทรายในจังหวัดใด  ให้คณะกรรมการพิจารณาดูดทรายประจ าจังหวัดนั้น
                   วางหลักเกณฑ์ในการพิจารณาการอนุญาตดูดทราย โดยก าหนดคุณสมบัติของผู้ขออนุญาต ว่าต้องมิได้เป็นผู้กระท า
                   ความผิดโดยการถมทรายรุกล ้าล าน ้า โดยก าหนดระยะเวลามิให้ได้รับอนุญาตดูดทรายในระยะเวลาที่เห็นสมควร
                             ้
                   เพื่อเป็นการปองปรามการกระท าความผิดซ ้า
                          6)     ในการอนุญาตให้มีการประกอบกิจการดูดทรายควรก าหนดให้ผู้ประกอบกิจการวางเงินประกัน
                   ความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน ก่อนได้รับอนุญาต ตามจ านวนเงินที่เหมาะสม


                          6.1.12  กรณีดูดทรายบก
                          1)     กิจการดูดทรายทุกขนาด  จะต้องมีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม  อย่างน้อยที่สุดในระดับการ
                   จัดท ารายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (IEE) พร้อมทั้งจัดท าเอกสารเผยแพร่ที่มีเนื้อหาทั้งด้านดีและ

                   ผลกระทบอย่างครบถ้วน ต้องมีการประชุมกลุ่มย่อยเป็นระยะๆ เพื่อให้ประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงทุกราย
                   ได้ร่วมพิจารณาและร่วมตัดสินใจอย่างโปร่งใส
                          2)     ในการพิจารณาอนุญาตให้มีการดูดทรายบก  ควรตั้งคณะกรรมการพิจารณาอนุญาตและก ากับ
                   ดูแลให้ดูดทราย เช่นเดียวกันกับคณะกรรมการพิจารณาอนุญาตให้ดูดทรายในแม่น ้า โดยพิจารณาจากผลการศึกษา
                   ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (IEE)
                          3)     ในการก าหนดแนวเขตที่อนุญาตให้มีการดูดทราย ควรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนมี

                   ส่วนร่วมตั้งแต่การก าหนดแนวเขตที่ชัดเจน การประกอบกิจการว่าอยู่ในอาณาเขตที่ได้รับอนุญาตหรือไม่ และแสดง
                   แผนผังแนวเขตที่ได้รับอนุญาตในบริเวณที่ประกอบกิจการให้ชัดเจน
                          4)     ในการอนุญาตให้มีการประกอบกิจการดูดทราย ควรก าหนดให้ผู้ประกอบกิจการวางเงินประกัน
                   ความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน ก่อนได้รับอนุญาต ตามจ านวนเงินที่เหมาะสม
                          5)     ในระหว่างประกอบกิจการดูดทราย  หากการประกอบกิจการก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

                   และชุมชน  จะต้องให้ผู้ประกอบกิจการหยุดประกอบกิจการชั่วคราวทันที  จนกว่าผู้ประกอบกิจการจะมีการแก้ไข
                     ั
                   ปญหาให้เสร็จสิ้นเสียก่อน

                          6.1.13  กรณีโครงการด้านพลังงาน
                                                              ้
                           1)     ในการจัดท าแผนพัฒนาก าลังผลิตไฟฟา (Power  Development  Plan - PDP) ต้องอยู่บนฐานของ
                                                                                               ้
                   ข้อมูลที่เป็นจริง โดยเฉพาะข้อมูลการเติบโตของเศรษฐกิจที่น าไปสู่การคาดการณ์ความต้องการไฟฟาที่เป็นจริง และ
                   กระบวนการจัดท าแผนจะต้องเปิดให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจมากที่สุด
                                                  ้
                                                                                             ้
                              แผนพัฒนาก าลังผลิตไฟฟา จะต้องเน้นการใช้มาตรการการจัดการด้านการใช้ไฟฟา (Demand Side
                   Management  -  DSM) และพลังงานหมุนเวียน เช่น แสงอาทิตย์ ลม ก๊าซชีวภาพ ชีวมวล พลังน ้าขนาดเล็ก และ
                         ้
                                                                                 ้
                   โรงไฟฟาขนาดเล็ก (Small  Power  Plant  -  SPP) มากกว่าการก่อสร้างโรงไฟฟาขนาดใหญ่ที่ใช้ถ่านหินหรือก๊าซ
                   ธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง
                                                   ้
                                        ้
                              การผลิตไฟฟาจากโรงไฟฟานิวเคลียร์ แม้จะมีข้อพิจารณาว่าราคาต้นทุนต่อหน่วยมีราคาถูกกว่า
                                                                   ้
                   เชื้อเพลิงชนิดอื่น (แต่ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างโครงการโรงไฟฟาในต่างประเทศมัก    สูงกว่างบประมาณที่ตั้งเอาไว้
                                                                 ้
                   ถึง 2 เท่า ในแผน PDP 2007 ตั้งค่าก่อสร้างโครงการโรงไฟฟานิวเคลียร์เอาไว้ที่ประมาณ 2 ล้านล้านบาท เท่ากับว่า
                   ในการก่อสร้างจริงอาจต้องใช้งบประมาณถึง 4 ล้านล้านบาท)




                                                              139
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160