Page 158 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 158

6.3 ชุมชนและประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ
                                                                  ้
                          -  ชุมชนและประชาชนต้องพร้อมที่จะร่วมกันปกปองคุ้มครองสิทธิของตน ชุมชน และสิ่งแวดล้อม
                                                                                ้
                   และควรมีการสร้างเครือข่ายกับชุมชนอื่น หน่วยงานราชการที่มีหน้าที่ดูแลปกปองสิทธิและสิ่งแวดล้อม นักวิชาการ
                   และองค์กรพัฒนาเอกชน เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่ภาคประชาชน


                   6.4 หน่วยงานที่ถูกร้องเรียน
                                                                                ั
                          -      หน่วยงานที่ถูกร้องเรียนควรปฏิบัติตามมาตรการการแก้ไขปญหาตามรายงานการตรวจสอบแล้ว
                                                                                                     ั
                   หากกรณีใดไม่อาจด าเนินการได้เนื่องจากไม่มีกฎหมายก าหนด ควรจะต้องปรึกษาหารือเพื่อให้มีการแก้ไขปญหาให้
                   สัมฤทธิ์ผล มิใช่เพิกเฉยโดยอ้างว่าไม่มีกฎหมายให้อ านาจ
                                                                                    ั
                          -      หน่วยงานที่ถูกร้องเรียนควรจะต้องพิจารณาเพื่อหาสาเหตุของปญหาว่าเหตุใดจึงถูกร้องเรียน
                   และหาทางแก้ไขมิให้ถูกร้องเรียนในประเด็นเดิมๆซ ้าอีก
                          -
                   6.5 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

                          -      ควรด าเนินการให้ความรู้แก่ภาคประชาชน ให้ทราบถึงสิทธิของตน และให้ทราบถึงวิธีการการ
                   ร้องเรียนต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนให้มากยิ่งขึ้น
                          -      ควรมีการน าเสนอเชิงนโยบายเกี่ยวกับประเด็นฐานทรัพยากรต่อรัฐบาล และภาคประชาชน
                                                          ั
                                    ั
                   เพื่อให้เห็นถึงสภาพปญหาและแนวทางการแก้ไขปญหาในภาพรวม
                                                                                            ั
                                                             ่
                          -      ควรมีการให้ความรู้เกี่ยวกับนิเวศน์ปาเขตร้อน ยังมีการเผยแพร่น้อย ท าให้ปญหาสิทธิชุมชนต่าง
                   กับต่างประเทศ ซึ่งแท้จริง แผนพัฒนา ความยากจน ระบบนิเวศน์ เป็นเรื่องการละเมิดสิทธิ เพื่อให้มีความเท่าทันใน
                                ้
                   การคุ้มครองปกปองทรัพยากร
                          -  ควรให้การสนับสนุนในการสร้างเครือข่ายสิทธิมนุษยชนให้เป็นจริง
                          -      ควรจัดให้มีบุคคลากรของส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติให้เพียงพอที่จะ

                   สนับสนุนการด าเนินการตรวจสอบกรณีร้องเรียนให้ทันท่วงที
                          -      ควรจัดให้มีบุคลากรในการจัดเก็บข้อมูลการตรวจสอบให้เป็นระเบียบ ค้นหาง่าย และครบถ้วน
                   พร้อมที่จะใช้งาน
                          -      ควรสนับสนุนคณะอนุกรรมการในการตรวจสอบกรณีร้องเรียนให้มากขึ้นเพื่อเสริมสร้างศักยภาพ

                   ในการปฏิบัติหน้าที่
                          -      เมื่อได้รับรายงานจากคณะอนุกรรมการ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรจะได้พิจารณา
                   ผ่านความเห็นชอบในรายงานดังกล่าวโดยเร็ว เพื่อให้ทันกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
                          -      ควรมีหน่วยงานที่ติดตามผลการด าเนินการตามรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้มี
                                            ั
                   ประสิทธิภาพ เพื่อให้การแก้ไขปญหาตามมาตรการเป็นไปอย่างมีศักยภาพ
                                                             ั
                          -      ควรมีการติดตามผลการแก้ไขปญหาต่อผู้ร้องเรียนเพื่อให้ทราบถึงผลการแก้ไขอย่างมี
                   ประสิทธิภาพ อันจะท าให้เห็นถึงการท าหน้าที่ของหน่วยงาน และการได้รับการเยียวยาของผู้ร้องเรียน















                                                              142
   153   154   155   156   157   158   159   160