Page 13 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 13

และประชาชน มักจะไม่สามารถพิสูจน์ได้แน่ชัดว่าเกิดจากสาเหตุใด นอกจากนี้การก าหนดค่าภาคหลวงแร่
                   ส าหรับกิจการบางประเภทต ่ามาก เช่น ทองค า ไม่คุ้มค่าต่อทรัพยากรอันมีค่าที่ใช้แล้วหมดไป
                              3)  การออกเอกสารสิทธิ์ภายหลังจากการประกอบกิจการเหมืองแร่ ขาดการตรวจสอบจากค า

                   ขอประทานบัตร ว่าที่ดินที่ขออนุญาตประกอบกิจการเหมืองแร่เดิม เป็นที่ดินของรัฐหรือที่ดินที่มีเอกสารสิทธิ์
                   อยู่แต่เดิมก่อนประกอบกิจการ
                              4)  กิจการดูดทรายบกและทรายแม่น ้าขาดการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม และในการก าหนด
                   แนวเขตที่อนุญาตให้มีการดูดทราย ไม่มีการมีส่วนร่วมของชุมชน รวมถึงขาดการแสดงแผนผังแนวเขตที่ได้รับ
                                                             ั
                   อนุญาตในบริเวณที่ประกอบกิจการให้ชัดเจน  และพบปญหาการดูดทรายในจังหวัดใดจังหวัดหนึ่ง อาจส่งผล
                   กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนของจังหวัดอื่น นอกจากนี้ผู้ประกอบการดูดทรายมักกระท าความผิดโดยการ

                   ถมทรายในท่าทรายรุกล ้าล าน ้า

                          กรณีปัญหาด้านพลังงาน และมลพิษอุตสาหกรรม
                                                                ้
                                  1)      ในการจัดท าแผนพัฒนาก าลังผลิตไฟฟา (Power Development Plan - PDP) มักค านวณอยู่
                   บนฐานของข้อมูลที่เป็นฐานความคาดการการเติบโตของเศรษฐกิจที่มักท าให้เกิดภาวะความต้องการสูงโดย
                   ขาดการถ่วงดุลจากสถานการณ์ด้านอื่นๆ เช่น ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม และความเหมาะสมในการประหยัด
                                                             ้
                                                                                           ้
                   พลังงานในภาวะโลกร้อน และแผนพัฒนาก าลังผลิตไฟฟาส่วนใหญ่เน้นการการก่อสร้างโรงไฟฟาขนาดใหญ่ที่
                                                                                                     ้
                   ใช้ถ่านหินหรือก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง มากกว่ามุ่งพัฒนาใช้มาตรการการจัดการด้านการใช้ไฟฟา
                   (Demand  Side  Management  -  DSM) และพลังงานหมุนเวียน เช่น แสงอาทิตย์ ลม ก๊าซชีวภาพ ชีวมวล
                                         ้
                   พลังน ้าขนาดเล็ก และโรงไฟฟาขนาดเล็ก (Small Power Plant - SPP)
                                                                                             ้
                                                  ้
                              2) ในการคัดเลือกผู้ผลิตไฟฟาเอกชน มี 2  ขั้นตอนที่ส าคัญ คือ การคัดเลือกผู้ผลิตไฟฟาเอกชนเข้า
                                                       ้
                                                                                     ้ ่
                                                                      ้
                   ร่วมโครงการ และการลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟาระหว่างผู้ผลิตไฟฟาเอกชนกับการไฟฟาฝายผลิตแห่งประเทศ
                                           ้
                   ไทย  แม้การคัดเลือกผู้ผลิตไฟฟาเอกชนดังกล่าว จะได้พยายามให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมโดยก าหนดให้
                   รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ของโครงการ ต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม
                                                   ้
                   แห่งชาติก่อนการลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟา เพราะเห็นว่าในการจัดท ารายงาน EIA ได้ก าหนดหลักการมีส่วน
                   ร่วมของประชาชนในการตัดสินใจการด าเนินโครงการไว้อยู่แล้ว แต่การมีส่วนร่วมของประชาชนในกรณีนี้ จะ
                                          ้
                   เกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อผู้ผลิตไฟฟาเอกชนดังกล่าวได้ผ่านการคัดเลือกในขั้นตอนแรกแล้ว ซึ่งเท่ากับว่าโครงการ
                                            ้
                                ้
                   ก่อสร้างโรงไฟฟาของผู้ผลิตไฟฟาเอกชนรายนั้นได้รับการตัดสินใจให้ก่อสร้างไปแล้ว การพิจารณารายงาน
                                                                             ้
                   EIA ของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติก่อนลงนามในสัญญาซื้อขายไฟฟา จึงเท่ากับเป็นเพียงการรับรอง
                                                                                   ้
                   การมีส่วนร่วมของประชาชนที่เกิดขึ้นภายหลังจากที่ได้มีการตัดสินใจก่อสร้างโรงไฟฟาในพื้นที่แล้ว
                                              ้
                              3)  โครงการโรงไฟฟาขนาดเล็กที่มีก าลังการผลิตไม่เกิน 10 เมกะวัตต์ ไม่อยู่ในประกาศที่ต้อง
                                                                                   ้
                   จัดท ารายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) แต่ได้ปรากฏข้อเท็จจริงว่าโรงไฟฟาดังกล่าวก็ได้ก่อให้เกิด
                   ผลกระทบต่อชุมชนที่อาศัยอยู่ใกล้เคียง
                              4)  พบกรณีโรงงานอุตสาหกรรมที่ด าเนินการก่อสร้างก่อนได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการ
                   โรงงาน

                              5)     ในพื้นที่ที่มีการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมอยู่แล้ว และอาจจะมีการก่อสร้างโรงงาน
                   อุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นอีกนั้น ไม่มีการศึกษาความสามารถในการรองรับมลพิษในพื้นที่นั้นในภาพรวมก่อนที่จะ
                                                          ั
                   อนุญาตให้มีการก่อสร้างโรงงานเพิ่มเติมท าให้เกิดปญหาการเกิดมลพิษสะสมมากกว่าเงื่อนไขตามรายงานของ
                   แต่ละโรงงานนอกจากนี้การติดตามตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรมมีก าลังเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ  ท าให้กรณี
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18