Page 11 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 11
สามารถคุ้มครองสิทธิได้เพียงบางส่วน โดยมีผลให้เกิดการแก้ไขปัญหา บรรเทาความ
เดือดร้อนของชุมชน ในระดับหนึ่ง และส่งผลให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้เข้าไปตรวจสอบและปฏิบัติ
ั
ตามอ านาจหน้าที่ของตน ได้แก่ กรณีผลกระทบจากเหมืองแร่ยิบซัม จังหวัดสุราษฎร์ธานี กรณีปญหาที่ดิน
้
่
บ้านแหลมปอม จังหวัดพังงา กรณีการบุกรุกปาพรุคันธุลี จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ไม่สามารถคุ้มครองสิทธิได้ แต่ส่งเสริมให้ประชาชนได้เข้าใจถึงสิทธิและใช้สิทธิของ
ตน มีผลเป็นการกระตุ้นให้ชุมชนได้รับรู้ข้อมูลข่าวสาร และจัดตั้งเครือข่ายเพื่อคุ้มครองสิทธิ
มนุษยชนมากยิ่งขึ้น เกิดความเข้มแข็งในชุมชนที่จะตระหนักถึงสิทธิของตน ได้แก่ กรณีการขุดลอกล า
พะเนียง จังหวัดหนองบัวล าภู (มีผลการคุ้มครองสิทธิในขณะตรวจสอบเท่านั้น)
5. สาเหตุเชิงนโยบายที่อาจท าให้เกิดการละเมิดสิทธิชุมชน
ในกระบวนการตรวจสอบที่ได้มีการเรียกข้อมูลเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถประมวลประเด็น
ั
ปญหาที่พบว่าเป็นสาเหตุส าคัญที่ท าให้เกิดการละเมิดสิทธิของชุมชน ดังนี้
กรณีน ้าในโครงการชลประทาน
1) ในการด าเนินโครงการชลประทานทุกขนาด ทุกประเภท พื้นที่ที่จะถูกใช้ในกิจการโครงการ
ั
ชลประทาน ทุกขนาด ทุกประเภท มักมีปญหาความขัดแย้งในการจ่ายค่าชดเชยที่คุ้มค่า เป็นธรรม เสมอกัน
เนื่องจากในหลายกรณีประชาชนที่ได้รับผลกระทบโดยตรงขาดการมีส่วนร่วมในการก าหนดหลักเกณฑ์ในการ
พิจารณาก าหนดค่าชดเชยดังกล่าว โดยความเสียหายที่ต้องชดเชย หมายรวมถึง พื้นที่ที่มีการครอบครองใน
ลักษณะยึดถือเพื่อตน และท าประโยชน์ในที่ดินตามสภาพท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นการเพาะปลูกพืชล้มลุก ไม้ผล
่
ยืนต้น เก็บฟืน การเก็บหาของปา การเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ๆเป็นทุ่งหญ้าธรรมชาติ หรือพื้นที่พุ่มไม้ ซึ่งได้เคยมี
่
การท าประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังกล่าวข้างต้นมาแล้ว เว้นแต่เป็นพื้นที่ปาสมบูรณ์ซึ่งได้เคยมีการท า
ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังกล่าวข้างต้นมาแล้ว
2) โครงการชลประทานขนาดเล็กยังไม่ก าหนดให้มีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม รวมถึง
ั
ขาดการรับฟงความเห็นของประชาชนที่ได้รับผลกระทบโดยตรง
3) มีกรณีร้องเรียนหลายโครงการที่จะด าเนินการในเขตที่มีคุณค่าทางนิเวศวิทยา เช่น การ
สร้างอ่างเก็บน ้าในพื้นที่อนุรักษ์ โครงการผันน ้าข้ามลุ่มน ้าซึ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่ จะมีผลกระทบต่อสมดุล
ธรรมชาติ แม้จะมีการจัดจ้างผู้รับจ้างจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) แต่ก็เป็นเพียง
การหามาตรการและข้ออ้างเพื่อลดผลกระทบและยังมีการผลักดันเพื่อด าเนินโครงการต่อไป ก่อให้เกิดความ
ขัดแย้งอย่างรุนแรง อาทิเช่น เขื่อนแก่งเสือเต้น ฝายหัวนา ที่สิ้นเปลืองทั้งงบประมาณในการศึกษาจ านวน
มหาศาล และต้องสูญเสียต้นทุนทางทรัพยากรจ านวนมาก
4) โครงการพัฒนาแหล่งน ้า มักให้เกษตรกรเสียสละเพื่อประโยชน์ในการสร้างอ่างเก็บน ้า ที่
อ้างว่าเพื่อใช้ประโยชน์ในการเกษตรกรรม แต่เมื่อเกิดกรณีฝนแล้ง เช่น การขาดแคลนน ้าของภาคตะวันออก
กลับน าน ้าจากอ่างเก็บน ้าไปช่วยเหลือแหล่งอุตสาหกรรม อันสร้างความไม่ชอบธรรมแก่เกษตรกรเป็นอย่างยิ่ง
กรณีทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ั
1) โครงการก่อสร้างท่าเทียบเรือ ขาดกระบวนการเผยแพร่ข้อมูลและการประชุมรับฟงความเห็น
อย่างทั่วถึงเพื่อให้ประชาชนที่ได้รับผลกระทบโดยตรงทุกรายได้ร่วมพิจารณาและร่วมตัดสินใจอย่างโปร่งใส
ในกรณีท่าเทียบเรือขนาดต ่ากว่า 500 ตันกรอส ก็เป็นโครงการที่ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม เช่นเดียวกับท่าเทียบเรือซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า แต่ไม่ต้องจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ