Page 17 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 17
บทที่ 1
บทน า
1.1 ความเป็นมา
นับแต่ปี 2544 จนถึงเมษายน 2551 ได้มีกรณีร้องเรียนการละเมิดสิทธิมนุษยชนในด้าน
ั่
ทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ พลังงาน อุตสาหกรรม และสิ่งแวดล้อม หลายร้อยกรณี ซึ่งคณะกรรมการสิทธิ
ั
มนุษยชนแห่งชาติได้มอบหมายให้ คณะอนุกรรมการที่ด าเนินการตรวจสอบเกี่ยวกับประเด็นปญหาดังกล่าว
ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับฐานทรัพยากร โดยมีคณะอนุกรรมการที่ด าเนินการตรวจสอบ นับแต่ คณะอนุกรรมการ
ั
ด้านที่ดินและน ้า คณะอนุกรรมการเพื่อการศึกษาและตรวจสอบกรณีปญหาเหมืองแร่ คณะอนุกรรมการด้าน
พลังงานและอุตสาหกรรม คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้าและแร่ คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากร
ั่
ั่
ทางทะเลและชายฝง คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง และแร่ ซึ่งมีการปรับปรุงและควบรวม
ั่
ั
คณะอนุกรรมการ มาจนถึงปจจุบันใช้ชื่อว่า คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม
ั่
จากการตรวจสอบกรณีร้องเรียน คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และ
ั
สิ่งแวดล้อม ได้ด าเนินการพิจารณาการละเมิดสิทธิและได้มีความเห็นและมติก าหนดมาตรการการแก้ไขปญหา
1
ในกรณีต่างๆ รวมทั้งสิ้น 247 กรณี โดยสามารถจ าแนกออกตามฐานทรัพยากรเป็น กรณีน ้า 65 กรณี กรณี
ั่
ชายฝงทะเล 64 กรณี กรณีแร่ (และทรัพยากรธรณีอื่นๆ) 62 กรณี และ กรณีพลังงาน อุตสาหกรรม และ
สิ่งแวดล้อม 56 กรณี แสดงกรณีที่ร้องเรียนตามรายปีในตารางที่ 1.1
ตารางที่ 1.1 สรุปจ านวนกรณีร้องเรียนตามรายปีในช่วงปี 2544-2551
ฐาน จ านวนกรณีปัญหาต่อปี รวม หมายเหตุ
ทรัพยากร 44 45 46 47 48 49 50 51
น ้า 2 4 9 10 17 16 6 1 65 เป็นการจ าแนกกรณีร้องเรียนใหม่
ชายฝั่ง - - - 4 33 13 12 2 64 ตามฐานทรัพยากรในการศึกษา
ครั้งนี้ โดยปรับจ านวนจากการ
แร่ 4 6 10 10 9 13 10 - 62
สิ่งแวดล้อม - 1 - 5 7 5 35 3 56 ตรวจสอบของคณะอนุกรรมการชุด
ต่างๆมาอีกครั้งหนึ่ง ตามประเด็น
รวมกรณี 6 11 19 29 66 47 63 6 247 หลักตามเนื้อหาข้อร้องเรียน
การจ าแนกฐานทรัพยากรเป็น 4 ฐาน ดังกล่าวเป็นเพียงแนวคิดที่ค่อยๆพัฒนาจากกรณี
การร้องเรียนที่เข้ามาถึงส านักงานและการมอบหมายให้คณะอนุกรรมการชุดต่างๆดังที่อธิบายแล้วตรวจสอบ
ซึ่งภายหลังเมื่อมีการควบรวมในช่วงเวลาต่างๆ จึงท าให้เนื้อหาของการตรวจสอบมีความเกี่ยวพันธ์กัน อาทิ
การตรวจสอบกรณีที่ดินขุมเหมืองเก่าในที่ชายทะเลซึ่งเกี่ยวพันธ์กับการบุกรุกที่อยู่อาศัยของเอกชนภายหลัง
เหตุการณ์ธรณีพิบัติภัย สึนามิ ที่ในขณะตรวจสอบได้ตรวจสอบโดยคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้าและ
ั
แร่ เนื่องจากมีประสบการณ์เกี่ยวกับการตรวจสอบกรณีปญหาเหมืองแร่ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายแร่ แต่
ั่
ภายหลังเมื่อมีการควบรวมกับอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรทางทะเลและชายฝงซึ่งมีกรณีร้องเรียนที่ดิน
1
ตามข้อเสนอของการศึกษาในครั้งนี้มีรายงานการตรวจสอบ 244 กรณี แต่จากการรวบรวมรายงานแล้วพบว่ามีรายงานจริง 247
กรณี
1