Page 14 - บทบาทคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 14
เชิงอรรถ
1
Tony Evans, “Introduction: Power, Hegemony and Universality of Human Rights,” in Tony Evans, ed., Human Rights Fifty
Years on, Manchester University Press, 1998, p.4
Heiner Bielfeld, “Western Versus Islamic Human Rights Conception?” A Critique of Cultural Essentialism in the Discussion of
Human Rights,” Political Theory, Vol. 28, No.1, February 2000, pp. 96-97.
2
ดังที่ ฌาคส์ มาริแตง (Jacques Maritain) ตั้งข้อสังเกตไว้ว่า :
ไม่มีปฏิญญาสิทธิมนุษยชนใดที่จะครอบคลุมจบสิ้น มันจะต้องแปรเปลี่ยนโดยสอดคล้องกับสภาพจิตส านึกทางศีลธรรม
และอารยธรรมในแต่ละช่วงขณะของประวัติศาสตร์
อ้างใน Joseph A. Camilleri, “Human Rights, Cultural diversity and Conflict Resolution: The Asia Pacific Context”, Pacific Review,
Vol. 6, No.2, 1994, p.20.
3
ตัวอย่างเช่น Edward Herman, “Immiseration & Human Rights,” Third World Resurgence, Issue No.58, June 1995, p.41;
Vandana Shiva, “The Enclosure of the Commons,” Third World Resurgence, Issue No.84, 1997, p.6; Lee Kuan Yew’s address to
an annual conference organized by the Philippines Business Council in Manila, and President Fidel Ramos’ response, The
Nation, Bangkok, 21 November, 1992.
4
ดูทัศนะของ Mary Robinson ใน “If human rights are respected…conflict, terrorism and war can be prevented.” Boston Globe,
September 3, 2002.
5
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๔๐ มาตรา ๒๐๐ :
“คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) ตรวจสอบและรายงานการกระท าหรือการละเลยการกระท าอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรืออันไม่เป็นไปตาม
พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี และเสนอมาตรการการแก้ไขที่เหมาะสมต่อ
บุคคลหรือหน่วยงานที่กระท าหรือละเลยการกระท าดังกล่าวเพื่อการด าเนินการ ในกรณีที่ปรากฏว่าไม่มีการด าเนินการ
ตามที่เสนอ ให้รายงานต่อรัฐสภาเพื่อด าเนินการต่อไป
(๒) เสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับ ต่อรัฐสภาและคณะรัฐมนตรีเพื่อส่งเสริม
และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
(๓) ส่งเสริมการศึกษา วิจัย และการเผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน
(๔) ส่งเสริมความร่วมมือและการประสานงานระหว่างหน่วยราชการ องค์การเอกชน และองค์การอื่นในด้านสิทธิ
มนุษยชน
(๕) จัดท ารายงานประจ าปีเพื่อประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ และน าเสนอต่อรัฐสภา
(๖) อ านาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
“ในการปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต้องค านึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวมของชาติและประชาชน
ประกอบด้วย
“คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีอ านาจเรียกเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องจากบุคคลหรือเรียกบุคคลใดมาให้
ถ้อยค า รวมทั้งมีอ านาจอื่นเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ”
๑๒