Page 11 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 11

ทานผูมีเกียรติที่เคารพ  จากการตรวจสอบกรณีรองเรียนการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่
              คณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานไดรับมาพิจารณาตรวจสอบ พบวาไดมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนและไม

              ปฏิบัติตามกฎหมายที่ใชอยูในปจจุบันเปนจํานวนมาก อาทิ การคุมครองแรงงาน  แรงงานสัมพันธ
              การประกันสังคมที่พยายามเอาเปรียบฝายแรงงาน กองทุนเงินทดแทน การเหมาชวงแรงงาน  การ

              คุมครองแรงงานไทยไปทํางานตางประเทศ  แรงงานตางดาว  และการกระทําเหลานั้นลวนแต

              เจาหนาที่กระทําผิดกฎหมายแทบทั้งสิ้น  เพราะกฎหมายแรงงานของไทยไมทันสมัย  ไดมีการอาศัย
              ชองโหวของกฎหมายหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ของรัฐ  ละเมิดตอสิทธิแรงงาน

              บอยๆ  อนึ่งความรู  ประสบการณ  ความยุติธรรม  ความสุจริต  ความตั้งใจดี  ทั้งจากฝายเจาหนาที่
              ของรัฐ  และฝายสหภาพแรงงาน  ไมมีศักยภาพพอเพียงที่จะทําใหภารกิจที่จะตองสมัครสมานกลม

              เกลียวกันเพื่อผลประโยชนของราชอาณาจักร  และประชาราษฎรทั้งหลายก็ไมอาจเกิดขึ้นได  ซึ่งเปน
              สิ่งที่เปนทุกขของแผนดิน

                     คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ  ตระหนักถึงปญหาเหลานี้วาการพิทักษและคุมครอง
              ผูใชแรงงาน ซึ่งมีอยูมากกวา  6  ลานคน ใหมีประสิทธิภาพและยั่งยืนนั้น  ทุกฝายจะตองตระหนัก

              และยอมรับตลอดจนเคารพสิทธิตามกฎหมายที่ตองแกไขปรับปรุงใหทันสมัย  ตองมีสวนรวม
              สงเสริม  ขยายโอกาสและคุมครองแรงงานทุกประเภทใหมีประสิทธิภาพและยั่งยืนนั้น  จึงมีความ

              จําเปนอยางยิ่งที่รัฐบาล  จะตองพัฒนากฎหมายที่สรางความเปนธรรมทั้งตอสถานประกอบการและ
              ผูใชแรงงานซึ่งเปนฝายผูเสียเปรียบในสังคม  ซึ่งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติไดจัดทํา

              ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอรัฐบาล และหนวยงานที่เกี่ยวของนําไปพิจารณาดําเนินการตามอํานาจ
              หนาที่

                     คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติไดทราบวา  กระทรวงแรงงานกําลังเสนอใหมีการ

              แกไขปรับปรุงกฎหมายหลายฉบับ  ใหมีความเปนธรรมและไมลาสมัย  สอดคลองกับสถานการณ
              ทางเศรษฐกิจ  การเมือง  และสังคม  ตลอดจนรูปแบบการจางงานที่ไดเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก  เชน

              แรงงานตามบาน  (Domestic  Servants) ที่อาจเปนปญหาแรงงานไดในเร็ววันนี้  กฎหมายดังกลาว
              ประกอบดวย

                     - รางพระราชบัญญัติคุมครองผูรับงานไปทํางานที่บาน  พ.ศ. ....
                     - รางพระราชบัญญัติจัดหางานและคุมครองคนทํางาน (ฉบับที่..) พ.ศ. ....

                     - รางพระราชบัญญัติของคนทํางานตางดาว พ.ศ. ....

                     - รางพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่..) พ.ศ. ....
                     - รางพระราชบัญญัติความปลอดภัย  อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน พ.ศ. ....
                     - รางพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ....
                     - รางพระราชบัญญัติประกอบอาชีพ พ.ศ. ....



              10
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16