Page 13 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 13

เอกสารประกอบการกลาวเปดการสัมมนา


                        ของรัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานในการสัมมนาเรื่อง

                “นโยบายการพัฒนากฎหมาย และการคุมครองสิทธิแรงงานในสถานการณปจจุบัน”

                                 ณ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

                                           วันศุกรที่ 6 กรกฎาคม 2550

                                           XYZW XYZW

                     กระทรวงแรงงาน ไดมีการพิจารณาปรับปรุง แกไข และพัฒนากฎหมายของกระทรวง
              แรงงาน เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดตอองคกรดานแรงงาน และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานของ

              กระทรวงแรงงาน ดังนี้

                     1)  รางพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....  ไดมีการนําเสนอเพื่อขอ

              ปรับปรุงแกไขใน 2 ระยะ โดย
                     ระยะแรก  กระทรวงแรงงาน โดยกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เสนอขอปรับปรุง

              เนื่องจากพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 มีบทบัญญัติบางประการที่ไมเหมาะสมกับ
              สภาวการณในปจจุบัน เพื่อใหการใชแรงงานเปนไปอยางเปนธรรมและเหมาะสม รวมทั้งเปนการ

              ขยายการคุมครองใหแกลูกจางกรณีที่มีการจางงานลักษณะเหมาคาแรง มีการกําหนด การคุมครอง
              แรงงานใหยืดหยุนมากยิ่งขึ้นและมีความสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม

                     ความกาวหนา คณะกรรมการรางกฎหมายกฤษฎีกา (คณะที่ 9) พิจารณาเสร็จแลว ขณะนี้อยู

              ระหวางสงรางกฎหมายที่แกไขใหหนวยงานยืนยัน

                      ตอมากระทรวงแรงงาน โดยสํานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน ไดขอปรับปรุงแกไขหมวด

              6 คณะกรรมการคาจาง โดยเพิ่มอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการคาจางใหสามารถกําหนดแนว
              ทางการปรับคาจางประจําปตามภาวะเศรษฐกิจและสังคม และกําหนดอัตราคาจางตามการประเมิน

              ใหสอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจและเพิ่มอํานาจหนาที่ของสํานักงานคณะกรรมการคาจางใหมี
              บทบาทหนาที่ในการจัดทําแผนพัฒนาระบบคาจางและรายไดของประเทศ

                     ความกาวหนา คณะรัฐมนตรีรับหลักการ เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2550 ปจจุบันอยูระหวางการ
              พิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา


                     2)  รางพระราชบัญญัติเงินทดแทน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เพื่อแกไขพระราชบัญญัติเงิน
              ทดแทน พ.ศ.2537 โดยแกไขใหลูกจางของสวนราชการไดรับความคุมครองตามกฎหมาย





              12
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18