Page 106 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 106
๒.๒ สนามบินในสังกัดกรมท่าอากาศยานที่ให้บริการ การประเมินสถานการณ์ในปีนี้แบ่งเป็น ๔ ส่วน ประกอบด้วย
อุปกรณ์ยกคนพิการที่ใช้รถเข็นขึ้นเครื่องบิน (๑) สถานการณ์สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ได้แก่
(hydraulic Lift) มี ๒ แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยาน การทรมานและการบังคับให้สูญหาย สิทธิในกระบวนการ
กระบี่ ซึ่งให้บริการโดยบริษัท การบินไทย จ�ากัด ยุติธรรม สิทธิในความเป็นส่วนตัวและข้อมูลส่วนบุคคล
(มหาชน) และมีการเรียกเก็บค่าบริการ อนึ่ง เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการชุมนุม
ปัจจุบันท่าอากาศยานหัวหินมีผู้โดยสารที่ใช้ (๒) สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
อุปกรณ์ดังกล่าวจ�านวนน้อย จึงจะมีการส่งมอบ ได้แก่ สิทธิด้านการศึกษา ด้านสุขภาพ ด้านการประกอบ
อุปกรณ์ฯ ไปใช้ที่ท่าอากาศยานกระบี่ ซึ่งมีเที่ยวบิน อาชีพและการท�างาน (๓) สถานการณ์สิทธิมนุษยชน
และผู้โดยสารจ�านวนมาก เพื่อการใช้อุปกรณ์ ในเหตุการณ์เฉพาะ เช่น ค้ามนุษย์ สถานการณ์ในจังหวัด
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ชายแดนภาคใต้ ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน สิทธิด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ (๔) สถานการณ์
(๓) บริษัท สายการบินแห่งหนึ่ง (ผู้ถูกร้อง) แจ้งว่า สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเฉพาะ เช่น กลุ่มชาติพันธุ์ ชนเผ่า
ได้เชิญผู้ร้องไปเป็นวิทยากรให้แก่บริษัทฯ ในหลักสูตรสิทธิ ชนพื้นเมือง และคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นต้น
และความเสมอภาคของคนพิการและการให้บริการ
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
ส�าหรับผู้โดยสารทุกคน (Inclusive Air Transport Service ข้อค้นพบ/ข้อเสนอแนะที่ส�าคัญ จ�าแนกตาม
Training) และได้จัดท�าคู่มือการให้ความช่วยเหลือและ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนแต่ละด้าน ดังนี้
อ�านวยความสะดวกแก่คนพิการแต่ละประเภทและ
ผู้สูงอายุ โดยอ้างอิงจากคู่มือการให้ความช่วยเหลือและ สถานการณ์สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง พบว่า
อ�านวยความสะดวกแก่คนพิการแต่ละประเภทและผู้สูงอายุ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๒๖/๑
ส�าหรับหน่วยงานที่ให้บริการภาคขนส่ง (Ground Quality มีข้อยกเว้นให้รับฟังพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบ
Safety and Security Assurance Dept. (CQ)) เพื่อให้ แต่ได้มาเนื่องจากการกระท�าโดยมิชอบหรือเป็นพยาน
พนักงานได้ถือเป็นแนวปฏิบัติต่อไป หลักฐานที่ได้มาโดยอาศัยข้อมูลที่เกิดขึ้นหรือได้มาโดย
มิชอบได้ ท�าให้เกิดช่องว่างทางกฎหมายและวิธีปฏิบัติ
๓.๒ การจัดทำารายงานผลการประเมิน การตีความ เป็นปัญหาอุปสรรคต่อการเข้าถึงสิทธิ
สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของ ในกระบวนการยุติธรรมของครอบครัวบุคคลถูกบังคับ
ประเทศ ให้สูญหายและเปิดช่องให้มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน
โดยเจ้าหน้าที่รัฐ กฎหมายหรือค�าสั่งที่ให้อ�านาจและ
หน้าที่และอ�านาจนี้บัญญัติไว้ใน พ.ร.บ. กสม. ๒๕๔๒ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่รัฐในบางลักษณะซึ่งส่งผล
มาตรา ๑๕ (๖) ต่อมาได้บัญญัติไว้ใน พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ กระทบต่อสิทธิของผู้ต้องหา จ�าเลยและผู้ต้องขัง อาทิ
มาตรา ๒๖ (๒) ประกอบมาตรา ๔๐ และมาตรา ๔๑ โดย ค�าสั่ง คสช. ที่ ๓/๒๕๕๘ ซึ่งให้อ�านาจเจ้าพนักงานรักษา
กสม. ชุดที่ ๓ ได้จัดท�ารายงานผลการประเมินสถานการณ์ ความสงบเรียบร้อยมีอ�านาจเรียกตัวบุคคล เพื่อสอบถาม
ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทยจ�านวน ๕ ฉบับ ดังนี้ ข้อมูลหรือให้ถ้อยค�า และมีอ�านาจควบคุมตัวได้ไม่เกิน
เจ็ดวัน ทางปฏิบัติพบว่ามีการควบคุมตัวตามค�าสั่งดังกล่าว
๓.๒.๑ รายงานผลการประเมินสถานการณ์ อย่างต่อเนื่อง เป็นต้น
ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๕๙
กสม. ใช้เกณฑ์หรือมาตรฐานหลัก ๒ ประการ คือ สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
๑) หลักการตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พบว่า มีการจัดการศึกษาที่ยังไม่สอดคล้องกับระบบสังคม
พุทธศักราช ๒๕๕๐ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย วัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสอนผ่านระบบพหุภาษา
(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๘ รวมทั้งกฎหมายอื่น หรือภาษาแม่ ตลอดจนการรักษารากทางวัฒนธรรม
และ ๒) สิทธิที่ได้รับการรับรองจากสนธิสัญญาระหว่าง และฐานทรัพยากรของชุมชน โดยยังพบข้อติดขัดในการ
ประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี ด�าเนินการตามมาตรา ๑๒ ของพระราชบัญญัติการศึกษา
104